ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำลพบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
|image = Lopburi River.jpg
|image_size = 275px
|image_caption = คลองบางทะลาย (ซ้าย) ไหลไปบรรจบกับแม่น้ำลพบุรี (ขวา) บริเวณ[[วัดมณีชลขัณฑ์]] อำเภอเมืองและจังหวัดลพบุรี
 
<!-- *** Country etc. *** -->
บรรทัด 30:
|city8 = [[อำเภอพระนครศรีอยุธยา|พระนครศรีอยุธยา]]
<!-- *** Tributaries *** -->
|tributary_left = [[คลองบางขันหมาก]]
|tributary_left1 =
|tributary_left2 =
บรรทัด 36:
|tributary_right = [[แม่น้ำบางขาม]]
|tributary_right1 = [[แม่น้ำโพธิ์สามต้น]]
 
<!-- *** Geography *** -->
|length = 85
เส้น 95 ⟶ 94:
แต่เดิมแม่น้ำลพบุรีสายเก่าไหลไปรวมกับแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณวัดขุนยวนโดยมีลักษณะไหลโอบบริเวณเกาะเมืองด้านเหนือไปทางตะวันตก<ref>{{cite web |url=http://www.muangboranjournal.com/modules.php?name=Sections&op=printpage&artid=395|title=กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา|author=ศรีศักร วัลลิโภดม|date=2555|work=|publisher=เมืองโบราณ|accessdate=18 ธันวาคม 2557}}</ref> ครั้นได้มีการขุดลอกคลองเชื่อมระหว่างแม่น้ำลพบุรีกับแม่น้ำป่าสักที่อยู่ทางทิศตะวันออกบริเวณวัดตองปุ เรียกว่า "คูขื่อหน้า" ทำให้กรุงศรีอยุธยามีสัณฐานเป็นเกาะ<ref>{{cite web |url=http://haab.catholic.or.th/history/history04/ayutaya1/ayutaya1.html|title=ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา|author=|date=|work= |publisher=หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ|accessdate=19 ธันวาคม 2557}}</ref> กลายเป็นคูเมืองทางเหนือของกรุงศรีอยุธยา<ref>{{cite web |url=http://www.sujitwongthes.com/2014/12/siam17122557/#more-23806|title=ทำลายอโยธยา เลยไม่รู้อยุธยามาจากไหน?|author=สุจิตต์ วงษ์เทศ|date=17 ธันวาคม 2557|work=|publisher=.sujitwongthes.com|accessdate=19 ธันวาคม 2557}}</ref> อีกทั้งแม่น้ำลพบุรีไหลลงแม่น้ำป่าสักมากขึ้นเพราะระยะทางใกล้กว่า ส่วนแม่น้ำลพบุรีสายเดิมที่ไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาก็ตื้นเขินและแคบลงเรียกกันว่า "คลองเมือง"<ref>{{cite web |url=http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=33&chap=3&page=t33-3-infodetail03.html|title=คลองขุดในประเทศไทย|author=|date=|work=|publisher=สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|accessdate=18 ธันวาคม 2557}}</ref>
 
มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแม่น้ำลพบุรีมาไม่น้อยกว่า 3,000 ปีแล้ว จนเป็นแหล่งชุมชนที่พัฒนาเป็นบ้านเมืองแล้วเป็นรัฐ อาทิ [[อาณาจักรทวารวดี|รัฐทวารวดี]], [[ละโว้|รัฐละโว้-อโยธยา]] ก่อนพัฒนาเป็น[[อาณาจักรอยุธยา|กรุงศรีอยุธยา]]ในกาลต่อมา<ref name="สุจิตต์"/> ในยุคทวารวดี สายน้ำนี้เป็นเส้นทางเชื่อมต่อกับคลองและสายน้ำไปยังเมืองบางไผ่ ([[อำเภอบ้านหมี่]] จังหวัดลพบุรี), เมืองจันเสน ([[อำเภอตาคลี]] [[จังหวัดนครสวรรค์]]), เมืองอู่ตะเภา ([[อำเภอมโนรมย์]] [[จังหวัดชัยนาท]]) ดังจะพบวัดเก่าสมัยอยุธยาเรียงรายตามลำน้ำอยู่เป็นจำนวนมาก ทั้งนี้[[พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)]] ได้สันนิษฐานไว้ในหนังสือ ''"ระยะทางเสด็จพระราชดำเนินประพาสตั้งแต่พระราชวังจันทรเกษมถึงจังหวัดลพบุรี"'' ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ว่า "เส้นทางสายนี้คงเป็นแม่น้ำลพบุรีสายเดิม และ[[พระนางจามเทวี]]เดินทางจากละโว้ ขึ้นไปครอง[[อาณาจักรหริภุญชัย|เมืองหริภุญไชย]] ผ่านตามเส้นทางน้ำที่ไหลไปบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาแถบหลัง[[อำเภอพยุหะคีรี]]"<ref>{{cite web |url=http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=806|title=ข้อสังเกตเรื่อง "ยุคเหล็กลุ่มลพบุรี-ป่าสัก"|author=วลัยลักษณ์ ทรงศิริ|date=2540|work=|publisher=มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์|accessdate=22 ธันวาคม 2557}}</ref>
 
ในอดีตแม่น้ำลพบุรีมีความสำคัญในด้านการคมนาคมทางน้ำ ที่จังหวัดลพบุรีมีการใช้ลำน้ำนี้เพื่อติดต่อค้าขายกับกรุงเทพมหานคร โดยมีท่าเรือสำหรับเดินทางไปยังกรุงเทพฯ ที่ท่าน้ำตรงข้าม[[วัดพรหมาสตร์]] นอกจากนี้ชาวบ้านยังใช้เดินทางไปต่างเมือง อาทิ สิงห์บุรี และบ้านแพรก แต่ปัจจุบันผู้คนนิยมเดินทางด้วยรถยนต์ การสัญจรทางน้ำในแม่น้ำลพบุรีจึงหายไป<ref name="ลพบุรี"/>