ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทวสถานโบสถ์พราหมณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
{{เพิ่มอ้างอิง}} thumb|เทวสถาน กรุงเทพมหานคร '''เทวสถาน''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''เท
บรรทัด 6:
เทวสถานได้ขึ้นทะเบียนเป็น[[โบราณสถาน]]สำคัญของชาติ ประกาศไว้ใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 66 ตอนที่ 64 วันที่ 2 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2492 หน้าที่ 5281 ลำดับที่ 11 ประกาศ ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2492<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2492/D/064/5280.PDF ประกาศกรมศิลปากร เรื่องกำหนดบัญชีโบราณวัตถุสถาน]</ref>
 
== สถาปัตยกรรมและศิลปกรรม ==
เมื่อเดินเข้ามาจากประตูทางเข้า จะมีเทวาลัยขนาดเล็ก เป็นที่ประดิษฐานเทวรูป พระพรหม (พระผู้สร้าง) ซึ่งตั้งอยู่กลางบ่อน้ำ สร้างขึ้นเมื่อ พุทธศักราช 2515 ภายในเทวสถาน จะมีโบสถ์อยู่ 3 หลัง คือ
*1) [[หอพระอิศวร(เทวสถานโบสถ์พรามณ์ กรุงเทพมหานคร)|สถานพระอิศวร]] (โบสถ์ใหญ่ อยู่ด้านหลังเทวาลัยพระพรหม)
*2) [[หอพระคเณศ(เทวสถานโบสถ์พรามณ์ กรุงเทพมหานคร)|สถานพระพิฆเนศวร]] (โบสถ์กลาง)
*3) [[หอพระนารายณ์(เทวสถานโบสถ์พรามณ์ กรุงเทพมหานคร)|สถานพระนารายณ์]] (โบสถ์ริม)
นอกจากนี้ยังมี หอเวทวิทยาคม อยู่ภายในโบสก์พราหม์อีกด้วย ซึ่งจัดเป็นห้องสมุดเฉพาะกิจ และรวบรวมสรรพวิทยาการด้านประเพณีและพิธีกรรมแห่งหนึ่งในประเทศไทย เปิดให้ประชาชนเข้าไปค้นคว้าเพื่อศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู.
== พระราชพิธีตรียัมปวาย ==
{{โครงส่วน}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}