ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมขลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
thumb|350px|''นางมณีเมขลา'' ขณะเหาะลงมาช่วย[[พระมหาชนก ภาพจากวัดหน่อพุทธางกูร จังหวัดส
บรรทัด 54:
 
=== ประเทศจีน ===
ตามคติจีน มีเทพที่ใกล้เคียงกับเมขลา ชื่ออีกสององค์คือ '''[[ธิดาพญามังกร|เง็กนึ้ง]]''' ({{zh|c=玉女|p= yùnǚ}}; แปลว่า "นางหยก") หรือและอีกองค์คือ '''[[เตียนบ๊อ]]''' ({{zh|c=電母|p= diàn mǔ}}; แปลว่า "เจ้าแห่งสายฟ้า") ต่างกับเมขลาคือถือธงหรือกระจกเงาให้มีแสงแวบวับเป็นสัญญาณให้ ''[[ลุ่ยกง]]'' ({{zh|c=雷公|p= léi gōng}}; แปลว่า "เจ้าแห่งฟ้าร้อง") รู้ก่อนว่าผู้ใดมีใจชั่วควรลงโทษด้วยการใช้ฟ้าผ่า<ref>อุทัย สินธุสาร. ''สารานุกรมไทย''. กรุงเทพฯ:อาศรมแห่งศิลป์และศาสตร์, 2520. หน้า 3500-3501</ref>
 
=== ประเทศศรีลังกา ===
ปรากฏในกาพย์ของชาวทมิฬ เรื่อง '''[[มณิเมกะไล]]''' ({{lang-ta|மணிமேகலை}})<ref>[http://www.projectmadurai.org/pmworks.html ''Manimekalai'' - Original Text in Tamil]</ref><ref>[http://gretil.sub.uni-goettingen.de/gretil/4_drav/tamil/pm/pm141__u.htm ''Manimekalai'' - English transliteration of Tamil original]</ref> เป็นเทพธิดาแห่งท้องทะเล โดยถือเป็นเทพสตรีที่นอนหลับไหลอยู่บนเกาะมณีปัลลาวัม (ปัจจุบันคือ [[เกาะนยิณาตีวู]]) รจนาขึ้นโดย[[จิตตาไล จัตตานาร์]] ถือเป็นมหากาพย์หนึ่งในห้าที่มีชื่อเสียงของชาวทมิฬ<ref>
Mukherjee, Sujit (1999). ''A Dictionary of Indian Literature: Beginnings-1850''. New Delhi: Orient Longman Limited, p. 277</ref>
 
== ในวัฒนธรรมร่วมสมัย ==
เรื่องราวของเมขลา ได้รับการประพันธ์เป็นเพลง "เมขลาล่อแก้ว" ซึ่งเป็นจังหวะรำวง ขับร้องโดย[[เบญจมินทร์]]<ref>{{cite web |url=http://music.sanook.com/460/เปิดปูมเพลงไทย-เกาหลี ลูกทุ่งร้องมากว่า50 ปีแล้ว/|title=เปิดปูมเพลงไทย-เกาหลี ลูกทุ่งร้องมากว่า50 ปีแล้ว|author=|date=9 มีนาคม 2551|work= |publisher=สนุกดอตคอม|accessdate=26 มกราคม 2557}}</ref> โดยพรรณนาถึงฉากที่เมขลาล่อแก้วกับรามสูร
เส้น 74 ⟶ 73:
* [[พระมหาชนก]]
* [[รามสูร]]
{{เทวดา}}
 
{{รามเกียรติ์}}
[[หมวดหมู่:ตัวละครในวรรณคดีไทย]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เมขลา"