ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาเนเดียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Marisa Famanggorn (คุย | ส่วนร่วม)
Marisa Famanggorn (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 110:
 
==== การดูแลรักษา ====
# *ปฐมพยาบาล เมื่อทราบว่ามีสารพิษอยู่ในสถานที่เหล่านั่นก็ให้รีบนำผู้ป่วยออกจากจุดเกิดเหตุให้เร็วที่สุด ให้อยู่ในที่อากาศถ่ายเทดี ทำการล้างตัวด้วยน้ำเปล่าเพื่อลดการปนเปื้อน สังเกตดูปัญหาการหายใจ หากมีปัญหาการหายใจล้มเหลว ทีมกู้ชีพอาจพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจเพื่อรักษาชีวิต หากรู้สติดีเพียงแต่หายใจเร็วควรให้ออกซิเจนเสริม หากมีการสัมผัสที่ดวงตา มีอาการแสบตา ควรรีบล้างตาด้วยน้ำเปล่าให้มากที่สุดก่อนส่งพบแพทย์
# * การรักษา เมื่อเราทราบว่าเรารับสารพิษนั่นเข้าไปอย่างแรกคือให้เราดูที่อาการที่เกิดเป็นหลัก หากเกิดอาการระคายเคืองตา แก้ไขได้โดยการล้างตาด้วยน้ำเปล่าหรือน้ำเกลือปริมาณมากๆ อาการระคายเคืองทางเดินหายใจ แน่นหน้าอก แก้ไขโดยสังเกตการหายใจ ทำการใส่ท่อช่วยหายใจถ้ามีการหายใจล้มเหลว ถ่ายภาพรังสีทรวงอกเพื่อดูว่ามีภาวะปอดอักเสบเกิดขึ้นหรือไม่ ให้ผู้ป่วยสังเกตอาการอยู่ที่โรงพยาบาลถ้ามีอาการหนัก<ref>1. โยธิน เบญจวัง, วิลาวัณย์ จึงประเสริฐ, บรรณาธิการ. มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. นนทบุรี: สำนักงานกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกัน สังคม กระทรวงแรงงาน พ.ศ. 2550.</ref>
 
{{ตารางธาตุย่อ}}