ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โพรโทซัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
บรรทัด 13:
'''โพรโทซัว''' ({{lang-en|protozoa}}) เป็น[[สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว]]ขนาดเล็กที่จัดได้ว่ามีความสำคัญมากใน[[ระบบนิเวศ]] สามารถอาศัยอยู่ได้ทั้ง[[น้ำจืด]] และ[[น้ำเค็ม]] รวมทั้งบริเวณที่ชื้นแฉะ ยังพบว่าอาศัยอยู่ในร่างกายของสัตว์บกอีกหลายชนิด มีทั้งที่เป็นโทษและมีประโยชน์ โพรโทซัวนั้นมีทั้งที่สามารถสร้างอาหารได้เอง เช่น พวกที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ซึ่งมักจะสีเขียวของ[[คลอโรฟิลล์]] และพวกไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ การเพิ่มขึ้นของโพรโทซัวอย่างรวดเร็วหรือการบลูมขึ้นมา จะทำให้เกิดปรากฏการณ์ red tide ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำบริเวณนั้น ความเป็นพิษเกิดจาก[[metabolism|กระบวนการเมแทบอลิซึม]] และถูกขับออกมาละลายอยู่ในน้ำ โดยพิษจะมีผลให้สัตว์น้ำเป็นอัมพาต
== การจัดจำแนก ==
* [[ไฟลัมซาร์โคแมสติโกฟอราลัมซาร์โคแมสติโกฟอราคริคริงุงิ]] (Sarcomastigophora) หรือ[[ซูโอแฟลกเจลเลต]] (Zooflagellate) เป็นโปรโตซัวที่ว่ายน้ำได้ด้วย[[แฟลกเจลลา]] มีทั้งที่อาศัยเป็นอิสระในน้ำ ในดิน หรือเป็นปรสิต ชนิดที่เป็นปรสิตบางชนิดอาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของปลวกเพื่อช่วยย่อยเนื้อไม้ Trypanosoma เป็น[[ปรสิต]]ก่อ[[โรคเหงาหลับ]] (African sleeping sickness) โปรโตซัวในไฟลัมนี้อีกชนิดเรียกว่าซาร์โคดิเนส เป็นกลุ่มที่เคลื่อนที่ด้วยเท้าเทียม เช่น
** [[อะมีบา]] พบในน้ำจืด น้ำทะเลและในดิน ชนิดที่อยู่ในน้ำจืดจะมี[[คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล]]ซึ่งจะเก็บและขับน้ำออกจากเซลล์ และช่วยในการเคลื่อนที่ของเซลล์ด้วย
** [[เฮลิโอโซน]] (heliozoans) มีเท้าเทียมยื่นออกได้รอบตัว ขนาดละเอียด มองดูคล้ายรังสีพระอาทิตย์ซึ่งยืดหรือหดโดยการควบคุมการสร้างหรือรื้อสายทูบูลิน