ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริภูมิ-เวลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
ใน[[กลศาสตร์ดั้งเดิม]]ที่ไม่เป็นเชิงสัมพัทธ์, การใช้ปริภูมิแบบยุคลิดแทนปริภูมิเวลามีความเหมาะสม, เนื่องจากเวลานั้นถือว่าเป็นสากลและคงที่, ดำรงอยู่อย่างเป็นอิสระในฐานะแห่งสถานะของ[[การเคลื่อนที่]]ของ[[ผู้สังเกตการณ์]] (observer) ในบริบท[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ|เชิงสัมพัทธภาพ]],[[เวลา]]ไม่สามารถแยกออกจากสามมิติของปริภูมิได้เพราะอัตราของการสังเกตที่ซึ่งเวลาได้ผ่านไปสำหรับวัตถุนั้นขึ้นอยู่กับ[[ความเร็ว]]ของวัตถุเทียบกับผู้สังเกตการณ์และยังขึ้นอยู่กับความแรงของ[[สนามความโน้มถ่วง]] (gravitational field) อีกด้วย, ซึ่งสามารถที่จะชะลอการล่วงไปของเวลาสำหรับวัตถุที่มองเห็นได้โดยผู้สังเกตการณ์ที่อยู่ภายนอกของสนาม
 
ใน[[จักรวาลวิทยา]], แนวคิดของปริภูมิเวลาจะเป็นการรวมเอาทั้งปริภูมิและเวลาเข้าด้วยกันให้กลายเป็น[[เอกภพ]] (universe) ที่เป็นนามธรรมเพียงหนึ่งเดียว ในทางคณิตศาสตร์นั้นมันเป็นแมนิโฟลด์ที่ประกอบไปด้วย "เหตุการณ์" ซึ่งจะถูกอธิบายได้ตามประเภทของ[[ระบบพิกัด]]บางอย่าง
 
[[หมวดหมู่:กาล-อวกาศ]]