ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอลิเมอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Hattapon Sa-Ad (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
Hattapon Sa-Ad (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 36:
== ชนิดของพอลิเมอร์ (แบ่งตามโครงสร้างโมเลกุล) ==
 
เมื่อพิจารณาการเชื่อมโยงระหว่างสายโซ่โมเลกุล (crosslinking) เราสามารถแบ่งชนิดของพอลิเมอร์ได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้
# '''Chain length polymer''' เป็นพอลิเมอร์สายตรงไม่มีกิ่งก้านสาขา การจัดเรียงของมอนอเมอร์จัดเรียงกันเป็นระเบียบทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพอลิเมอร์ชนิดนี้มีลักษณะขุ่น ๆ ความหนาแน่นสูง จุดหลอมเหลวสูง
# '''Thermoplastic polymers''' เป็นพอลิเมอร์สายตรงหรือกิ่ง ไม่มีการเชื่อมโยงระหว่างสายโซ่โมเลกุล ส่งผลให้สายโซ่โมเลกุลขยับตัวง่ายเมื่อได้รับแรงหรือความร้อน สามารถหลอมและไหลได้เมื่อได้รับความร้อน เป็นส่วนประกอบหลักในพลาสติกอ่อน เช่น Polyethylene ในถุงพลาสติก
# '''ElastomersBranched polymer''' เป็นพอลิเมอร์ที่มีการเชื่อมโยงระหว่างสายโซ่โมเลกุลเล็กน้อยเป็นลักษณะมีกิ่งก้านออกจากยาวหลัก การจัดเรียงของมอนอเมอร์ค่อนข้างไม่เป็นระเบียบซึ่งทำหน้าที่ดึงสายโซ่โมเลกุลกลับไม่สามารถนำพอลิเมอร์ทั้งสองเส้นเข้ามาให้อยู่ในสภาพเดิมชิดติดกันได้ ทำให้ความหนาแน่นน้อยลง เมื่อปล่อยให้ความร้อนจุดเดือดจะต่ำกว่าแบบเส้นตรง ความเหนียวต่ำแต่พอลิเมอร์แบบกิ่งสามารถยืดหดได้ตามแรงดึงหรือแรงที่กระทำ
# '''ThermosettingCroos polymers-linking polymer''' เป็นพอลิเมอร์ที่มีการเชื่อมโยงระหว่างสายโซ่โมเลกุลอย่างหนาแน่นเป็นการยึดจับกันของมอนอเมอร์เป็นโครงสร้างตาข่ายแบบร่างแห ส่งผลให้สายโซ่โมเลกุลขยับตัวยากเมื่อได้รับแรงหรือความร้อน วัสดุที่มีพอลิเมอร์ชนิดนี้เป็นองค์ประกอบหลัก จึงรับแรงได้ดี แข็งแรงแต่เปราะและไม่หลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อน อย่างไรก็ตาม เมื่อความร้อนสูงถึงอุณหภูมิสลายตัว (Degradation temperature) วัสดุจะสลายตัวไปเนื่องจากพันธะเคมีแตกหัก พอลิเมอร์ชนิดนี้ เป็นส่วนประกอบหลักในพลาสติกแข็ง เช่น ถ้วยชามเมลามีน หลังคาไฟเบอร์ (Thermosets เสริมใยแก้ว)
 
== โครงสร้างของพอลิเมอร์ ==