ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตรอนเชียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom2095 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Hattakan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 62:
 
'''สตรอนเชียม''' ({{lang-en|Strontium}} {{IPA-en|ˈstrɒnʃiəm, -ʃəm, -tiəm}}) คือ[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ที่มี[[หมายเลขอะตอม]] 38 และสัญลักษณ์คือ '''Sr''' สตรอนเชียมอยู่ใน[[ตารางธาตุ]]หมู่ 2 สทรอนเชียมเป็น[[โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท]] มีสีขาวเงินหรือสีเหลืองมีเนื้อโลหะอ่อนนุ่มมีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีมากจะมีสีเหลืองเมื่อสัมผัสกับอากาศ พบมากในแร่ซีเลสไทต์และสตรอนเชียไนต์
'''การค้นพบ'''
Crawford แห่ง Edinburgh (Scotland) เป็นคนแรกที่ค้นพบธาตุสทรอนเซียมในปี ค.ศ. 1970 แต่ก็มีปรากฎหลักฐานว่า [[William Cruilshank]] (ชาวสก๊อตเช่นกัน) ได้ค้นพบธาตุนี้ก่อนในปี ค.ศ. 1787 เขาทั้งสองต่างทำการวิเคราะห์แร่ strontianite (SrCO3) ที่พบใน strontian (Scotland)
[[Sir Humphry Davy]] ในปี ค.ศ. 1808 สามารถสกัดธาตุนี้ได้ โดยนำของผสมของสทรอนเซียมไฮดรอกไซด์หรือคลอไรด์ที่ขึ้นกับเมอร์คิวริกออกไซด์ (HgO) มาแยกสลายด้วยไฟฟ้า โดยใช้ปรอทเป็นคาโทด
 
 
'''การใช้ประโยชน์'''
ธาตุสทรอนเซียมใช้ประโยชน์ทำนองเดียวกับแคลเซียมและแบเรียม ประกอบกับเป็นธาตุที่หาได้ยากกว่ามาก (และมีราคาแพงกว่า) การผลิตสทรอนเซียมเพื่อมุ่งใช้ประโยชน์จึงมีน้อยมาก อย่างไรก็ตามก็มีการใช้ Sr เป็นตัว "getter" บ้างในหลอดสูญญากาศ
ซึ่งสตรอนเทียมสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
1. ใช้ทำโลหะเจือกับ Al, Pb และ Cu
2. ใช้ในอุตสาหกรรมถลุงโลหะ โดยการเกิดไนไตรด์ (nitrides) และคาร์ไบด์ (carbides) กับแร่ที่มี N และ C เป็นองค์ประกอบ
3. เป็นตัวออกซิไดซ์สำหรับโลหะเจือหลายชนิด เช่น Cr-Ni, Fe-Ni, Ni-Co, Ni-Co-Fe
4. เป็นตัวรีดิวซ์ในการเตรียมโลหะ Be, Cr, Ha และโลหะ rare earths
5. ประโยชน์อื่น ๆ เช่น ใช้ดูดน้ำออกจากน้ำมัน แยกไนโตรเจนจากอาร์กอน เป็นต้น
 
'''ความเป็นพิษ'''
สทรอนเซียมมีบทบาทต่อการเผาผลาญอาหาร (metabolism) ของร่างกายคล้ายคลึงกับแคลเซียม จึงไม่เป็นพิษ (หรือเป็นพิษในเกณฑ์ต่ำมาก) ต่อร่างกาย สมบัติประการนี้ตรงข้ามกับแบเรียม ซึ่งสารประกอบที่ละลายได้เป็นพิษต่อร่างกาย
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.webelements.com/webelements/elements/text/Sr/index.html WebElements.com - สตรอนเชียม]
*[http://puypoo.exteen.com/page/12-สทรอนเชียม]
{{โครงเคมี}}
{{Link GA|de}}