ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอลิเมอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pattamawan Chumai (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขงานวิจัย
Pattamawan Chumai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 46:
การศึกษาโครงสร้างและสมบัติของวัสดุนาโนคอมพอสิตและผสมที่มีไคโตซานเป็นหลัก เพื่อประยุกต์เป็นวัสดุควบคุมการปล่อยยาและพอลิเมอร์อิเล็กโทรไลต์ชนิดแข็ง
 
“ไคโตซาน” จัดเป็นพอลิเมอร์จากธรรมชาติชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการนำมาประยุกต์ใช้งานอย่างกว้างขวางและหลากหลาย แต่ใช้วัสดุไคโตซานเพียงอย่างเดียวยังด้อยประสิทธิภาพ มีข้อจำกัดทางกายภาพเชิงกล การพัฒนาดังกล่าวดำเนินไปในสองแนวทางคือ (1) การพัฒนาวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมพอสิตของไคโตซาน/อนุภาคดินเหนียว (CS/MMT) เพื่อประยุกต์เป็นวัสดุควบคุมการปล่อยยา และ (2) การพัฒนาวัสดุพอลิเมอร์ผสมของ ไคโตซาน/พอลิเอทิลีนออกไซด์ (CS/PEO) เพื่อประยุกต์เป็นพอลิเมอร์ อิเล็กโทรไลต์ชนิดแข็ง ศึกษาโครงสร้าง รวมถึงสมบัติต่างๆ ทั้งเชิงสัณฐานวิทยาและเชิงความร้อนของวัสดุไคโตซานผสมทั้งสองชนิดที่พัฒนาขึ้น จากผลการทดลองพบว่าวัสดุนาโนคอมโพสิต CS/MMT ที่เตรียมได้ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมการปลดปล่อยยา เมื่อเทียบกับการใช้วัสดุคโตซานเพียงอย่างเดียว สำหรับวัสดุพอลิเมอร์ผสม CS/PEO ที่เตรียมขึ้น พบว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการนำไฟฟ้าได้ เมื่อเทียบกับการใช้พอลิเมอร์บริสุทธิ์ทั้งสองชนิดเป็นอิเล็กโทรไลต์เพียงอย่างเดียวโดยวัสดุพอลิเมอร์ผสมดังกล่าวให้ค่าให้ค่าการนำไฟฟ้าสูงสุดที่อัตราส่วนโดยโมลของ CS/PEO เท่ากัน
 
<gallery>