ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกียวกูองโฮโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
เนื้อหาหลักของกระแสพระราชดำรัสคือการประกาศการยอมจำนนของญี่ปุ่นโดยสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ อย่างไรก็ตาม คำศัพท์ที่ปรากฏในพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นศัพท์สูง ฟังเข้าได้ยากยิ่ง คนญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อยในสมัยนั้นก็ยังไม่แน่ใจในความหมายที่แท้จริงในทันที และจากเนื้อความทั้งหมดที่สมเด็จพระจักรพรรดิทรงประกาศ แม้ว่าเนื้อหาหลักคือการยอมจำนนของญี่ปุ่น แต่ก็ไม่มีส่วนใดเลยที่ระบุคำว่า “ยอมแพ้” <ref>โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์. (2550). '''นางาซากิ: ยลเสน่ห์ล้ำ ย้ำอดีตลึก'''. แพรวสำนักพิมพ์. หน้า 120.</ref>
 
เนื้อความที่สื่อว่าญี่ปุ่นยอมแพ้ตามพระราชดำรัสของสมเด็จพระจักรพรรดิคือ "ข้าพเจ้าเราได้มีบัญชาให้รัฐบาลจักรวรรดิญี่ปุ่น แจ้งต่อสี่ชาติ อันได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษสหราชอาณจักร จีน และสหภาพโซเวียต ว่าเรา ยอมรับปฏิญญาร่วมดังกล่าว" ({{ญี่ปุ่น|朕ハ帝國政府ヲシテ米英支蘇四國ニ對シ其ノ共同宣言ヲ受諾スル旨通告セシメタリ|Chin wa teikoku-seifu wo shite Bei Ei Shi So shikoku ni taishi sono kyōdō-sengen wo judaku suru mune tsūkoku seshimetari}})
 
ปฏิญญาที่พระองค์มีรับสั่งถึง คือ คำประกาศพอร์ตสดัม (Potsdam Declaration) ซึ่งสี่ชาติใหญ่ร่วมกันเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมแพ้โดยไม่มีเงื่อนไข ตอนนั้น ประชาชนคนไหนไม่รู้จักคำประกาศนี้ ก็อาจไม่เข้าใจชัดเจนในทันทีว่านั่นหมายถึงการยอมแพ้ของญี่ปุ่น <ref>โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์. (2550). '''นางาซากิ: ยลเสน่ห์ล้ำ ย้ำอดีตลึก'''. แพรวสำนักพิมพ์. หน้า 120 - 121.</ref>