ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอท่าตูม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| postal_code = 32120
| geocode = 3203
| image_map = Amphoe 3203.svg
| capital = ที่ว่าการอำเภอท่าตูม ถนนปัทมานนท์ ตำบลท่าตูม อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 32120
| phone = 0 4459 1141
เส้น 19 ⟶ 20:
 
== ประวัติ==
อำเภอท่าตูม ชุมชนอำเภอท่าตูม เป็นชุมชนเก่าแก่ดั้งเดิม ตั้งแต่ปลายสมัยเจนละ (ยุคศตวรรษที่ ๑๒ 12-๑๓ 13) ที่มีการปกครองที่ อิสานปุระ (สุรินทร์) เมื่อรัฐสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ประกาศลัทธิเทวราชา วราชาและสถาปนา อาณาจักรอังกอร์ ได้มีการแผ่ขยายการปกครองออกไปอย่างกว้างขวาง จากการนับถือเทวนิยมดังกล่าว จะมีการสร้าง เทวสถาน ในการประกอบพิธี และปราสาทที่พำนักของผู้แสวงบุญทั่วไป ในการไปมาหาสู่ระหว่างเมืองสำคัญต่างๆต่าง ๆ ในสมัยนั้นจะติดต่อกันทั้งในทางบก และทางน้ำซึ่งเป็นไปในรูปแบบของการส่งส่วย การส่งเครื่องราชบรรณาการ การแลกเปลี่ยนผลิตผลการค้าขาย ตลอดจนการยกกองทัพไปรบ การติดต่อระหว่างเมืองในแดนอิสานอีสานตอนล่าง จึงเป็นทางเรือเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในการล่องเรือดังกล่าวตามแม่น้ำนั้นจะมีการติดต่อทางด้านนครจำปาสักจำปาศักดิ์ ปากเซ และฝั่งแม่น้ำโขง (เจนละบก) และทางด้านนครธม นครวัด กำปงจาม กำปงฉนังมาตามลำน้ำ เพื่อติดต่ออาณาจักรเมืองพิมาย
 
จากการเดินทางรอนแรมมาถึงที่ตั้งบริเวณอำเภอท่าตูมในปัจจุบัน คณะเดินทางได้มาตั้งค่ายพักแรม ระหว่างที่บริเวณริมฝั่ง ที่มีต้นมะม่วงใหญ่ จึงได้ตั้งค่ายพักแรมและสร้างเป็นที่พักชั่วคราว และเรียกที่พักแรมนี้ว่า " กำปงสวาย" (ท่ามะม่วง) ชุมชนกำปงสวาย ได้ดำรงอยู่เรื่อยมาแม้ว่าเมื่ออาณาจักรเจนละและขอมโบราณ จะเสื่อมอำนาจลง จนเมื่อรัชสมัยรัชกาลที่ ๒,๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการรบพุ่งกัน ระหว่างไทยกับกัมพูชาอีก ไทยได้อพยพชาวกัมพูชาบางส่วนเข้ามาในประเทศไทย ชาวกัมพูชาที่มีเชื้อสายเดิม ก็ได้อพยพมาอยู่ในชุมชนกำปงสวายนี้ ได้เปลี่ยนมาเป็น "พงสวาย" ในปัจจุบัน (หมู่ที่ ๑๓ ตำบลท่าตูม) ประมาณปีพ.ศ. ๒๓๓๐ อำเภอท่าตูมได้มีการอพยพมาบริเวณปากน้ำมูลและชี มาบรรจบกันโดยชาวกูย (ส่วย) ซึ่งอพยพมาจากแคว้นจำปาสักเป็นพวกที่รักสงบ รักธรรมชาติ มีความชำนาญในการเลี้ยงช้างและการเกษตร เห็นว่าบริเวณดังกล่าวมีต้นโพธิ์ ซึ่งเป็นอาหารของช้างมาก มีทำเลเลี้ยงช้างเหมาะสม จึงได้อพยพมาอาศัยอยู่บริเวณนั้น และเรียกบริเวณนั้นว่า "กระโพ" ( ตำบลกระโพ ในปัจจุบัน) ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๕ อำเภอท่าตูมได้ยกขึ้นเป็นอำเภอสุรพิน และขึ้นอยู่กับเจ้าเมืองขุขันธ์ ปีพ.ศ. ๒๔๕๒ เห็นว่าการให้อำเภอสุรพินขึ้นอยู่กับเจ้าเมืองขุขันธ์นั้น มีระยะทางไกลมาก สร้างความลำบากให้แก่ข้าราชการและราษฎรไปติดต่อราชการ จึงได้พิจารณาให้อำเภอสุรพินมาขึ้นต่อเจ้าเมืองสุรินทร์ และเปลี่ยนเป็นอำเภออุดรสุรินทร์ ในปีพ.ศ. ๒๔๕๔ ครั้งแรกให้ขึ้นอยู่กับอำเภอเมืองสุรินทร์ มีหลวงแพ่งเป็นนายอำเภอคนแรก ต่อมาปี ๒๔๕๖ ได้มีการตั้งอำเภออุดรสุรินทร์ บริเวณริมฝั่งแม่น้ำมูล บ้านกำปงสวาย แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๕ ขุนสุรสิทธิ์ สาราการ (พิน จรัณยานนท์) ได้รับแต่งตั้งให้เป็นนายอำเภอคนแรก เมื่อเทศาภิบาลได้ตรวจงานอำเภอและชมทิวทัศน์ในแม่น้ำที่แพ หน้าที่ว่าการได้พลาดตกลงน้ำเสียงดังตูม ชาวบ้านจึงเรียกท่าแห่งนั้นว่า "ท่าตูม" และเนื่องจากท่าแห่งนั้นเป็นที่ตั้งอำเภอด้วย จึงเรียกที่ว่าการอำเภอท่าตูมมาจนติดปาก ต่อมาสมัยสงครามเอเชียบูรพา (๒๔๙๘) ทางราชการมีคำสั่งให้อำเภอจัดทำสนามบินฉุกเฉิน อำเภอได้แผ้วถางที่สาธารณะ หมู่ที่ ๗ ตำบลท่าตูมเป็นสนามบิน หลังจากสิ้นสงครามทางคณะกรรมการอำเภอเห็นว่า ที่ว่าการอำเภอดั้งเดิมอยู่กลางชุมชนมีความแออัดคับแคบ ขยายส่วนราชการต่างๆไม่ได้ จึงได้ย้ายมาตั้งที่สนามบิน (บริเวณอำเภอปัจจุบัน) และเนื่องจากการเรียกกันจนติดปากว่าอำเภอท่าตูม จึงได้เปลี่ยนชื่อ จากอำเภออุดรสุรินทร์ มาเป็น อำเภอท่าตูม
จากการเดินทางรอนแรมมาถึงที่ตั้งบริเวณอำเภอท่าตูมในปัจจุบัน คณะเดินทางได้มาตั้งค่ายพักแรมที่บริเวณริมฝั่งที่มีต้นมะม่วงใหญ่ จึงได้ตั้งค่ายพักแรมและสร้างเป็นที่พักชั่วคราว และเรียกที่พักแรมนี้ว่า "กำปงสวาย" (ท่ามะม่วง) ชุมชนกำปงสวายได้ดำรงอยู่เรื่อยมาแม้ว่าเมื่ออาณาจักรเจนละและขอมโบราณจะเสื่อมอำนาจลง จนเมื่อสมัยรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการรบพุ่งกันระหว่างไทยกับกัมพูชาอีก ไทยได้อพยพชาวกัมพูชาบางส่วนเข้ามาในประเทศไทย ชาวกัมพูชาที่มีเชื้อสายเดิมก็ได้อพยพมาอยู่ในชุมชนกำปงสวายนี้ ได้เปลี่ยนมาเป็น "พงสวาย" ในปัจจุบัน (หมู่ที่ 13 ตำบลท่าตูม) ประมาณปี พ.ศ. 2330 อำเภอท่าตูมได้มีการอพยพมาบริเวณปากน้ำมูลและชี มาบรรจบกันโดยชาวกูย (ส่วย) ซึ่งอพยพมาจากแคว้นจำปาสักเป็นพวกที่รักสงบ รักธรรมชาติ มีความชำนาญในการเลี้ยงช้างและการเกษตร เห็นว่าบริเวณดังกล่าวมีต้นโพธิ์ ซึ่งเป็นอาหารของช้างมาก มีทำเลเลี้ยงช้างเหมาะสม จึงได้อพยพมาอาศัยอยู่บริเวณนั้น และเรียกบริเวณนั้นว่า "กระโพ" (ตำบลกระโพในปัจจุบัน)
 
จากการเดินทางรอนแรมมาถึงที่ตั้งบริเวณอำเภอท่าตูมในปัจจุบัน คณะเดินทางได้มาตั้งค่ายพักแรม ระหว่างที่บริเวณริมฝั่ง ที่มีต้นมะม่วงใหญ่ จึงได้ตั้งค่ายพักแรมและสร้างเป็นที่พักชั่วคราว และเรียกที่พักแรมนี้ว่า " กำปงสวาย" (ท่ามะม่วง) ชุมชนกำปงสวาย ได้ดำรงอยู่เรื่อยมาแม้ว่าเมื่ออาณาจักรเจนละและขอมโบราณ จะเสื่อมอำนาจลง จนเมื่อรัชสมัยรัชกาลที่ ๒,๓5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการรบพุ่งกัน ระหว่างไทยกับกัมพูชาอีก ไทยได้อพยพชาวกัมพูชาบางส่วนเข้ามาในประเทศไทย ชาวกัมพูชาที่มีเชื้อสายเดิม ก็ได้อพยพมาอยู่ในชุมชนกำปงสวายนี้ ได้เปลี่ยนมาเป็น "พงสวาย" ในปัจจุบัน (หมู่ที่ ๑๓ ตำบลท่าตูม) ประมาณปีพ.ศ. ๒๓๓๐ อำเภอท่าตูมได้มีการอพยพมาบริเวณปากน้ำมูลและชี มาบรรจบกันโดยชาวกูย (ส่วย) ซึ่งอพยพมาจากแคว้นจำปาสักเป็นพวกที่รักสงบ รักธรรมชาติ มีความชำนาญในการเลี้ยงช้างและการเกษตร เห็นว่าบริเวณดังกล่าวมีต้นโพธิ์ ซึ่งเป็นอาหารของช้างมาก มีทำเลเลี้ยงช้างเหมาะสม จึงได้อพยพมาอาศัยอยู่บริเวณนั้น และเรียกบริเวณนั้นว่า "กระโพ" ( ตำบลกระโพ ในปัจจุบัน) ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๕ อำเภอท่าตูมได้ยกขึ้นเป็นอำเภอสุรพิน และขึ้นอยู่กับเจ้าเมืองขุขันธ์ ปีพปี พ.ศ. ๒๔๕๒2452 เห็นว่าการให้อำเภอสุรพินขึ้นอยู่กับเจ้าเมืองขุขันธ์นั้น มีระยะทางไกลมาก สร้างความลำบากให้แก่ข้าราชการและราษฎรไปติดต่อราชการ จึงได้พิจารณาให้อำเภอสุรพินมาขึ้นต่อเจ้าเมืองสุรินทร์ และเปลี่ยนเป็นอำเภออุดรสุรินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๔2454 ครั้งแรกให้ขึ้นอยู่กับอำเภอเมืองสุรินทร์ มีหลวงแพ่งเป็นนายอำเภอคนแรก ต่อมาปี ๒๔๕๖2456 ได้มีการตั้งอำเภออุดรสุรินทร์ บริเวณริมฝั่งแม่น้ำมูล บ้านกำปงสวาย แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๕2465 ขุนสุรสิทธิ์ สาราการ (พิน จรัณยานนท์) ได้รับแต่งตั้งให้เป็นนายอำเภอคนแรก เมื่อเทศาภิบาลได้ตรวจงานอำเภอและชมทิวทัศน์ในแม่น้ำที่แพ หน้าที่ว่าการได้พลาดตกลงน้ำเสียงดังตูม ชาวบ้านจึงเรียกท่าแห่งนั้นว่า "ท่าตูม" และเนื่องจากท่าแห่งนั้นเป็นที่ตั้งอำเภอด้วย จึงเรียกที่ว่าการอำเภอท่าตูมมาจนติดปาก ต่อมาสมัยสงครามเอเชียบูรพา (๒๔๙๘2498) ทางราชการมีคำสั่งให้อำเภอจัดทำสนามบินฉุกเฉิน อำเภอได้แผ้วถางที่สาธารณะ หมู่ที่ 7 ตำบลท่าตูมเป็นสนามบิน หลังจากสิ้นสงครามทางคณะกรรมการอำเภอเห็นว่า ที่ว่าการอำเภอดั้งเดิมอยู่กลางชุมชนมีความแออัดคับแคบ ขยายส่วนราชการต่างๆต่าง ๆ ไม่ได้ จึงได้ย้ายมาตั้งที่สนามบิน (บริเวณอำเภอปัจจุบัน) และเนื่องจากการเรียกกันจนติดปากว่าอำเภอท่าตูม จึงได้เปลี่ยนชื่อ จากอำเภออุดรสุรินทร์ มาเป็น อำเภอท่าตูม
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==