ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 171.97.129.110 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย AlphamaBot
บรรทัด 1:
'''[[ชื่อ]]''' คือสิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นเป็นคำต่างๆ เพื่อใช้แทน[[คน]] [[สัตว์]] สิ่งของ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรมที่สามารถสัมผัสหรือรู้สึกได้ เพื่อนำมาเรียกหรืออ้างถึง การใช้ชื่อเรียกแทน[[บุคคล]]เป็นสิ่งที่ควรที่ตั้งแต่เกิดหากไม่ได้เป็น[[คนเร่ร่อน]] ตาม[[กฎหมาย]]แล้ว[[บังคับ]]ให้[[ประชาชน]]ทุกคนต้องมีชื่อตั้งแต่[[เกิด]] ซึ่งชื่ออาจจะซ้ำกันได้
ผ้าไหมไทย เป็นผ้าไหมซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่างจากผ้าไหมทั่วไป กล่าวคือ มีแสงแวววาวเป็นมันเลื่อม เนื้อผ้าฟูไม่เรียบ อ่อนนุ่ม มีน้ำหนัก บางชนิดเป็นปุ่มปมอันเนื่องมาจากระดับคุณภาพซึ่งเกิดในกระบวนการผลิตแต่ก็ทำให้ได้รับความนิยมของคนบางกลุ่มเพราะดูแล้วมีความแปลกตา
 
== ความเชื่อเกี่ยวกับชื่อ==
ประวัติ
นัก[[มานุษยวิทยา]][[ชาวอังกฤษ]] เซอร์ [[James George Frazer|เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์]] เคยกล่าวไว้ว่า อารยชนมักจะตั้งชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ ด้วยความประสงค์ที่ว่า ต้องการให้มันแทนสิ่งนั้นจริง ๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าชื่อนั้นเป็นตัวตนที่แท้จริงของวัตถุที่บอกเล่าเอกลักษณ์ต่าง ๆ ไว้เช่น ผม ขน เล็บ ฯลฯ ดังนั้นในหลาย[[วัฒนธรรม]] ชื่อจริงจึงเป็นสิ่งต้องห้ามเนื่องจากหากล่วงรู้ก็หมายถึง[[ชีวิต]]ต้องตกอยู่ในมือผู้อื่น อาจโดนทำ[[ไสยศาสตร์]]เช่นใดก็ได้ ทำให้ในกาลต่อมาความหวาดระแวงนี้พัฒนาเป็น[[มารยาท]]ที่ต้องเอ่ยนามตัวเองก่อนถามนามผู้อื่นนั่นเอง กล่าวโดยย่อก็คือในวัฒนธรรมโบราณ ชื่อจริงนั้นเป็นสิ่งสำคัญมากเพราะอาจถูกเอาไปทำไสยศาสตร์ คนโบราณเลยมักไม่บอกกัน หากชื่อคือตัวตน ชื่อของคนย่อมส่งผลกับตัวตนเช่นกัน ผู้คนโดยมากจึงนิยมตั้งชื่อ[[มนุษย์]]ให้สื่อถึงความเข้มแข็งทาง[[วิญญาณ]] อีกนัยหนึ่งชื่อก็เป็นวิชาไสยเวทประเภทหนึ่ง ใน[[ตระกูล]]ทรัมปูแห่ง[[ซูลาเวซี|เกาะเซราเบส]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] ถึงกับมีการเอาชื่อของคนในเกาะมาเก็บไว้ เพราะเชื่อว่าการได้ครอบครองชื่อ ก็เหมือนประหนึ่งได้ครอบครองวิญญาณของผู้นั้น
ผ้าไหมมีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนและประเทศอินเดีย การทอผ้าไหมมีขึ้นราว 2,640 ปี ก่อนคริสตกาล พ่อค้าชาวจีนได้เผยแพร่ผ้าไหมสู่พื้นที่อื่นในแถบเอเชีย สำหรับประเทศไทยนักโบราณคดีพบหลักฐานที่แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงซึ่งบ่งชี้ว่ามีการใช้ผ้าไหมเมื่อ 3,000 ปีก่อน[2]
 
สำหรับ[[ความเชื่อ]]ของ[[คนไทย]]แล้ว ชื่อไม่เป็นเพียงแค่สิ่งสมมุติที่ใช้เรียกขานแทนตัวเท่านั้น แต่ยังจะมีบทบาทและแสดงถึงสภาพของเจ้าของชื่อด้วย โดยจะส่งผลถึงความเป็นสิริมงคลและกาลกิณีให้เกิดแก่เจ้าของชื่อได้ จึงมีความเชื่อมาแต่โบราณว่า การเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นกลวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้หายเจ็บ[[ป่วย]]หรือเคราะห์ร้ายต่าง ๆ เพราะเชื่อว่า เด็กเกิดจาก[[ผี]]ปั้น เมื่อคลอดออกมาแล้วผีก็ยังจะคอยมาเอาชีวิตกลับคืนไป ดังนั้นการเปลี่ยนชื่อจึงเป็นการหลอกให้ผีเข้าใจว่าเป็นคนละคนกัน
การทอผ้าไหมในประเทศไทยในอดีตมีการทำกันในครัวเรือนเพื่อใช้เอง หรือทำขึ้นเพื่อใช้ในงานพิธี เช่น งานบุญ งานแต่งงาน ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ส่งเสริมให้ใช้ผ้าไหม ส่วนการปลูกหม่อนเพื่อเลี้ยงไหมได้รับการสนับสนุนจากประเทศญี่ปุ่น แต่การดำเนินงานของโครงการก็ทำได้เพียงระยะหนึ่งมีอันต้องหยุดไป เนื่องจากเกษตรกรไทยยังคงทำในลักษณะแบบเดิมเพราะความเคยชิน ไม่ตอบรับต่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่แบบใหม่ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นจากความช่วยเหลือของญี่ปุ่น
 
[[เสฐียรโกเศศ]] กล่าวว่า ชื่อเก่าที่มีผู้ชื่อ เช่น หมู หมา กบ เขียด ด้วง เป็นต้น คงเป็นชื่อตั้งขึ้นเพื่อหลอกลวงผีว่าไม่ใช่คนแต่เป็นหมูหมา ผีจะได้ตายใจไม่เอาตัวไป เป็นลักษณะที่ใช้ใน[[ภาษาอังกฤษ]]เรียกว่า cacophonism ซึ่งมีอยู่ในประเพณีดั้งเดิมของทุกชาติทุกภาษา
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของผ้าไหมไทยขึ้น โดย เจมส์ แฮร์ริสัน วิสสัน ทอมป์สัน ชาวสหรัฐอเมริกาหรือที่คนไทยรู้จักในนามว่า จิม ทอมป์สัน ซึ่งเป็นผู้ที่ให้ความสนใจผลงานด้านศิลปะ ในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย รวมทั้งลาว และเขมร จิม ทอมป์สัน ได้ซื้อผ้าไหมไทยลวดลายต่างๆ เก็บสะสมไว้ และทำการศึกษาลวดลายผ้าไหมในหมู่บ้านที่เป็นแหล่งการผลิตผ้าไหม พร้อมกับเสาะแสวงหาช่างทอผ้าไหมฝีมือดี ในที่สุดได้พบช่างมีฝีมือถูกใจที่กรุงเทพมหานคร บริเวณชุมชนบ้านครัว (หลังโรงแรมเอเชีย เขตราชเทวีในปัจจุบัน)
 
ความเชื่อเรื่องชื่อในสังคไทยสะท้อนออกมาให้เห็นในแง่มุมต่าง ๆ อาทิ [[วรรณคดี]]พื้นบ้านเรื่อง ''[[ขุนช้างขุนแผน]]'' ที่ นาง ''[[วันทอง|พิมพิลาไล]]'' เปลี่ยนชื่อเป็น ''วันทอง'' ตามคำทักของขรัวตาจูหลังจากที่เจ็บป่วยออด ๆ แอด ๆ มาตลอด<ref>[[สมชาย สำเนียงงาม]] ผศ.ดร., "ชื่อใหม่" ในสมัยรัฐบาลคิดใหม่ทำใหม่ ''รู้ทันภาษา รู้ทันทักษิณ'' หน้า 302-303 ([[ตุลาคม]], [[พ.ศ. 2547]]) ISBN 974-92552-6-7</ref>
ชุมชนแห่งนี้เดิมเป็นชาวมุสลิมเชื้อสายเขมร อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ตั้งแต่ตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีความชำนาญในการทอผ้าไหม ซึ่ง จิม ทอมป์สัน ได้เข้ามาสนับสนุนให้ชาวบ้านในชุมชนทอผ้าไหม สามารถสร้างรายให้ชาวบ้านมากขึ้น หลังจากนั้นได้มีการปรับปรุงผ้าไหมไทยโดยใช้หลักการตลาด การผลิต เพื่อขยายตลาด และทำการบุกเบิกผ้าไหมของไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา และแพร่เข้าสู่วงการภาพยนตร์ของชาติตะวันตก และ ละครบรอดเวย์
 
ในปี พ.ศ. 2502 นักออกแบบชาวฝรั่งเศสได้ใช้ผ้าไหมไทยทำการออกแบบและตัดเย็บฉลองพระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ครั้งเสด็จเยือนประเทศสหัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการ ถือได้ว่าเป็นการเปิดโอกาสผ้าไหมของไทยสู่ตลาดต่างประเทศ
 
ระดับคุณภาพ[แก้]
ในปัจจุบันมีการนำเข้าวัตถุดิบเส้นไหม และเส้นใยสังเคราะห์จากต่างประเทศ ทั้งมีการนำเข้าถูกกฎหมายและลักลอบนำเข้าแบบผิดกฎหมาย ทำให้วัตถุเส้นไหมจึงมีทั้งคุณภาพได้มาตรฐานและคุณภาพต่ำกว่ามาตรฐานทำให้ผ้าไหมไทยมีคุณภาพต่ำลง กระนั้นผู้ผลิตก็ยังคงใช้ตราสัญลักษณ์ว่า "ผ้าไหมไทย" หรือ "Thai Silk" เพื่อการค้า ยังผลให้ผู้ซื้อทั้งของประเทศไทยและตลาดต่างประเทศไม่มั่นใจในคุณภาพของผ้าไหมไทย จากปัญหาดังกล่าวสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงมีกระแสพระราชดำรัสให้หน่วยงานที่รับผิดชอบไปดำเนินการวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการแก้ไข
 
ปี พ.ศ. 2545 หน่วยงานซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับผ้าไหมไทย เช่น กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (หน่วยงานเดิมของกรมหม่อนไหม) คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ร่วมกันจัดสัมมนาหาแนวทางแก้ไขจนได้ข้อสรุปเป็นมาตรการคุ้มครองไหมไทยและออกข้อบังคับในการผลิตผ้าไหมไทยโดยออกตราสัญลักษณ์รับรองคุณภาพผ้าไหมไทยไว้เป็นระดับต่างๆ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญลักษณ์นกยูงไทย ให้เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพสำหรับผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทยไว้ 4 ชนิด
 
นกยูงสีทอง (Royal Thai Silk) เป็นผ้าไหมชึ่งผลิตจากวัตถุดิบ เส้นไหม กระบวนการผลิตแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิมของไทยอย่างแท้จริงและใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านเป็นทั้งเส้นพุ่งและเส้นยืน เส้นไหมจะต้องสาวเส้นด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ การทอด้วยกี่ทอมือแบบพื้นบ้านชนิดพุ่งกระสวยด้วยมือ ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และต้องผลิตในประเทศไทย
นกยูงสีเงิน (Classic Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตขึ้นแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านผสมผสานกับการประยุกต์ใช้เครื่องมือและกระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านหรือที่ได้รับการปรับปรุงจากพันธุ์ไทยเป็นเส้นพุ่งหรือเส้นยืน เส้นไหมต้องผ่านการสาวด้วยมือ หรืออุปกรณ์ที่ใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนขนาดไม่เกิน 5 แรงม้า การทอต้องทอด้วยกี่ทอมือชนิดพุ่งกระสวยด้วยมือหรือกี่กระตุก และต้องทำการผลิตในประเทศไทย
นกยูงสีน้ำเงิน (Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยโดยการประยุกต์เทคโนโลยีการผลิตให้เข้ากับสมัยนิยมและทางธุรกิจธุรกิจ ใช้เส้นไหมแท้เป็นเส้นพุ่งและเส้นยืน ย้อมสีด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ และต้องผลิตในประเทศไทย
นกยูงสีเขียว (Thai Silk Blend) เป็นผ้าไหมซึ่งผ่านกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ผสมผสานกับภูมิปัญญาไทย เช่น ลวดลาย สีสัน ใช้เส้นใยไหมแท้กับเส้นใยอื่นที่มาจากวัสดุธรรมชาติ หรือเส้นใยสังเคราะห์ต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน หรือตามความต้องการของผู้บริโภค เส้นไหมแท้เป็นองค์ประกอบหลัก มีเส้นใยอื่นเป็นส่วนประกอบรอง สัดส่วนการใช้เส้นใยชนิดอื่นประกอบต้องระบุให้ชัดเจน ทอด้วยกี่ชนิดใดก็ได้ ย้อมสีด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และต้องผลิตในประเทศไทย
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
เอกลักษณ์ไหมไทย
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ชื่อบุคคล]]
จิม ทอมป์สัน
* [[นามสกุล]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://babynamewizard.com/namevoyager/lnv0105.html สถิติ ชื่อคนที่นิยมใช้ ของชาวสหรัฐอเมริกา] {{en}}
กรมหม่อนไหม
 
 
[[หมวดหมู่: ผ้าไทยปรัชญาตรรกศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ชื่อ| ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชื่อ"