ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิโคลา เทสลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Song2281 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่การเสียชีวิต / 100 ปีให้หลัง กับศูนย์วิจัย HAARP / วัฒนธรรมสมัยนิยม
บรรทัด 43:
[[Dorothy Skerrit]] เลขาส่วนตัวของเทสลากล่าวว่า "ความมีไมตรีและบุคลิกส่วนตัวที่ดูสูงส่งและสง่าผ่าเผยแสดงถึงความเป็นสุภาพบุรุษที่ฝังลึกอยู่ในจิตวิญญาณของเขา"
[[Julian Hawthorne]] เพื่อนของเทสลากล่าวว่า "หายากมากที่คุณจะพบนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรที่เป็นทั้งกวี, นักปรัชญา, ผู้ที่ชื่นชอบดนตรีดีๆ, นักภาษาศาสตร์, และผู้ที่เชี่ยวชาญทั้งเรื่องอาหารและเครื่องดื่ม"
 
== เสียชีวิต ==
 
นิโคลา เทศลาเสียชีวิตที่โรงแรมแห่งหนึ่งในเมืองนิวยอร์ค ด้วยอาการ[[หัวใจล้มเหลว]] รวมอายุได้อายุได้ 86 ปี ซึ่งไม่สามารถระบุวันเวลาที่แน่นอนของการเสียชีวิตได้ แต่มีการคาดว่าน่าจะอยู่ระหว่างช่วงบ่ายของวันที่ 5 มกราคม ถึงช่วงเช้าของวันที่ [[7 มกราคม]] [[ค.ศ. 1943]]
 
หลังจากที่นิโคลาเสียชีวิตลง หลังจากเขาเสียชีวิต ประธานาธิบดี เจ. เอดการ์ ฮูเวอร์ (J. Edgar Hoover) ได้ส่งบันทึกไปยังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ว่า เรื่องราวทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับ นิโคลา เทสลา ต้องถูกจัดการอย่างลับที่สุด และทุกฝ่ายต้องรักษาความลับของสิ่งประดิษฐ์ของเขาให้เป็นความลับตลอดไป<ref>[http://blog.etcpool.com/articles/environment/dedicated-to-nikola-tesla/ Dedicated to Nikola Tesla : อย่าลืม นิโคล่า เทสล่า]</ref><ref>[http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/25171-037137/ นิโคลา เทสลา อัจฉิรยะสติฟั่นเฟือง]</ref>
 
 
 
== ผลงานเด่น ==
เส้น 61 ⟶ 69:
ไฟล์:100RSD front.jpg|ธนบัตรเซอร์เบีย ปี 2007
</gallery>
 
 
== 100 ปีให้หลัง กับศูนย์วิจัย HAARP ==
100 ปี ให้หลัง รังสีหายนะของเทสลากลับกลายเป็นเรื่องจริง วงการวิทยาศาสตร์เพิ่งตามเขาทัน ในเรื่อง “รังสีหายนะ” (Death Ray ชื่อที่หนังสือพิมพ์ขนานนามขีปนาวุธ “โทรกำลัง” Teleforce ของเขา)
ในปี ค.ศ. 1993 กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ เริ่มก่อสร้างศูนย์วิจัยไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere คือชั้นบรรยากาศโลกที่ความสูงตั้งแต่ ๗๐-๕๐๐ กิโลเมตร) ในเมืองกาโคนา มลรัฐอะแลสกา ศูนย์นี้มีชื่อว่า HAARP (High Frequency Active Auroral Research Program) ได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยหลายแห่งในการดำเนินโครงการเพื่อศึกษาคุณสมบัติการสะท้อน (resonant properties) ของโลกและชั้นบรรยากาศโลก โครงการนี้มีความเกี่ยวโยงกับงานของเทสลาอย่างชัดเจน กล่าวคือ HAARP กำลังศึกษาปรากฏการณ์เดียวกันกับที่เทสลาค้นคว้าที่โคโลราโด
 
== วัฒนธรรมสมัยนิยม ==
ในการ์ตูน[[ซูเปอร์แมน]] (ค.ศ. 1941) ได้พาดพิง นิโคลา เทศลา และสิ่งประดิษฐ์ของเขามาแต่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ชื่อ ''เทสลา'' ที่พยายามทำลายล้างโลกด้วยเครื่องยิงลำแสงมหาประลัย หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า Death Ray<ref>[https://archive.org/details/superman_1941 Superman (1941)]</ref>
 
 
== อ้างอิง ==