ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าชายรัชทายาทซาโด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| พระราชบิดา =[[พระเจ้ายองโจ]]
| พระบิดา =
| พระราชมารดา = พระสนมยองบิน ตระกูลลีอี แห่งจอนอึย
| พระมารดา =
| มารดา =
บรรทัด 17:
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระโอรส/ธิดา = องค์ชายรัชทายาทอีซออึยโซ, [[พระเจ้าจองโจ|องค์ชายลีรัชทายาทอีซาน]]
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์โชซอน|โชซอน]]
|}}
'''องค์ชายรัชทายาทจังฮอน''' ({{เกาหลี|장헌세자|ฮันจา=莊獻世子|MC2000=Jangheonseja|MR=Changhǒnseja}}) หรือ '''องค์ชายรัชทายาทซาโด''' ({{เกาหลี|사도세자|ฮันจา=思悼世子|MC2000=Sadoseja|MR=Sadoseja}} ค.ศ. 1735 - ค.ศ. 1762) เป็นพระโอรสองค์ที่สองของ[[พระเจ้ายองโจ]] กับสนมยองบิน ตระกูลลีอี แห่งจอนอึย ในสมัย[[พระเจ้าโคจง]]มีการแต่งตั้งองค์ชายซาโดให้มีฐานะเป็นกษัตริย์ พระนามว่า '''พระเจ้าจังจางโจ''' (장조, 莊祖) และต่อมาได้รับสถาปนาเป็น '''พระจักรพรรดิอีอึย''' (의황제, 懿皇帝)
 
เนื่องจากรัชทายาทองค์ก่อน คือ องค์ชายรัชทายาทฮโยจังฮโยจาง สิ้นพระชนม์ไปใน[[พ.ศ. 2271]] ราชวงศ์โชซอนอยู่ในภาวะไร้ผู้สืบทอด บรรดาสนมของพระเจ้ายองโจก็ยังไม่มีพระโอรสเลย ดังนั้น เมื่อองค์ชายจังจางฮอนประสูติใน[[พ.ศ. 2278]] ที่[[พระราชวังชางเกียงกุง]] จึงได้รับแต่งตั้งเป็นวังเซจา (องค์ชายรัชทายาท) ทันที องค์ชายจังจางฮอนทรงเรียนรู้ได้เร็ว ทรงย้ายไปที่ทงกุง (ตำหนักตะวันออก) อันเป็นที่อยู่เดิมของมเหสีซอนอีของ[[พระเจ้าคยองจง]] เนื่องจากองค์ชายจังจางฮอนเป็นพระโอรสองค์เดียวในขณะนั้นของพระเจ้ายองโจ พระเจ้ายองโจจึงทรงเข้มงวดกับการศึกษาขององค์ชายจังจางฮอนอย่างมาก ในพ.ศ. 2287 องค์ชายจังจางฮอนอภิเษกกับพระชายาจากตระกูลฮง ([[พระชายาฮเยคยอง]]) ธิดาของฮงพงฮัน
 
ปกติพระเจ้ายองโจและสนมลีอียองบินจะไปหาองค์ชายจังจางฮอนบ่อยๆ แต่นางในที่รับใช้องค์ชายอยู่ที่ทงกุงนั้นเป็นคนรับใช้เก่าของมเหสีซอนอีและพระเจ้ายองโจคย็องจง จึงตั้งแง่รังเกียจพระเจ้ายองโจเพราะทรงยึดบัลลังก์มาจากพระเจ้าเคียงจงคย็องจง พระเจ้ายองโจจึงเลิกเสด็จไปหาองค์ชายจังจางฮอน ความสัมพันธ์พ่อลูกจึงเหินห่าง องค์ชายจังจางฮอนจึงกลายเป็นองค์ชายที่ขาดการใส่ใจ มีเพียงองค์หญิงฮวาเปียงฮวาพยองที่เป็นพระขนิษฐาเชษฐภคินีเท่านั้น ที่ยังพูดคุยกับองค์ชายจังจางฮอนอยู่
 
จนใน[[พ.ศ. 2291]] องค์หญิงฮวาเปียงพระขนิษฐาฮวาพยองพระเชษฐภคินีของพระองค์สิ้นพระชนม์ องค์ชายจังจางฮอนเสียพระทัยมาก ทรงเริ่มแสดงอาการผิดปกติทางจิต ประกอบกับองค์ชายจังจางฮอนประชวรบ่อย ในพ.ศ. 2295 ประชวรเป็นโรคหัด องค์ชาวจังจางฮอนมีพระโอรสพระองค์แรกใน[[พ.ศ. 2293]] คือ [[องค์ชายรัชทายาทอึยโซ]] แต่มีพระชนม์ชีพอยู่สองปีก็สิ้นพระชนม์ ในพ.ศ. 2295 พระโอรสประสูติอีกองค์ ได้รับแต่งตั้งเป็นวังเซซุน (พระนัดดารัชทายาท) ทันที (ภายหลังครองราชย์เป็น[[พระเจ้าจองโจ]]) ในพ.ศ. 2300 พระมเหสีอินวอนพระอัยยิกาเลี้ยงและมเหสีจองซองพระมารดาเลี้ยงสิ้นพระชนม์ องค์ชายจังจางฮอนมีอาการทางพระสติหนักขึ้น<ref>http://www.channel4.com/history/microsites/H/history/c-d/disease02.html</ref> ทรงสังหารขันทีซังกุงต่างๆคนรับใช้ตลอดจนหมอหลวง ทำให้ทรงเป็นที่หวาดกลัวไปทั่ววัง และยังทรงคบค้ากับนางทรงที่ชานเมืองฮันยาง<ref>http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C15/E1501.htm</ref> พระเจ้ายองโจก็ทรงทราบเรื่องพระอาการของพระโอรสดีแต่ทรงไม่กล้าทำอะไรเพราะเป็นพระโอรส ในพ.ศ. 2304 ทรงทุบตีพระชายาน้อยพระองค์หนึ่งจนเสียชีวิต และทรงตามรังควานพระเชษฐภคินีขนิษฐาคือองค์หญิงฮวาวาน<ref>http://www.findagrave.com/cgi-bin/fg.cgi?page=gr&GRid=16925787</ref>
 
ในพ.ศ. 2305 ขุนนางฝ่ายโนนนถายฎีกาให้พระเจ้ายองโจลงพระอาญาพระโอรส องค์ชายจังจางฮอนจขึงจับเอาญาติของขุนนางเหล่านั้นมาทรมานจนเสียชีวิต และขู่จะสังหารบุตรชายของอัครเสนาบดีชินมัน คือ องค์ชายยองซอง ทรงถึงขนาดจะปีนกำแพงวังไปสังหารองค์ชายยองซอง พระมารดาสนมลีอียองบินทนไม่ไหว ขอให้พระเจ้ายองโจทรงพระอาญาองค์ชายจังจางฮอน พระเจ้ายองโจจึงมีพระราชโองการปลดองค์ชายจังจางฮอนและพระชายาฮเยคยอง และบังคับให้องค์ชายจังจางฮอนเข้าไปอยู๋ในกล่องข้าว หลังจากอยู่ในกล่องเจ็ดวัน องค์ชายจังจางฮอนก็สิ้นพระชนม์
 
ภายหลังพระเจ้ายองโจทรงรู้สึกเสียพระทัยที่ทรงลงพระอาญากับพระโอรส จึงแต่งตั้งองค์ชายจังจางฮอนขึ้นใหม่เป็นองค์ชายรัชทายาทซาโด พระโอรสขององค์ชายซาโด คือ พระเจ้าจองโจ ทรงพยายามอย่างมากที่จะล้างมลทินให้พระราชบิดา ทำให้เกิดคำถามขึ้นว่า องค์ชายรัชทายาทซาโดประชวรจริงหรือเป็ฯเป็นการใส่ร้ายของขุนนางฝ่ายโนนน แต่[[บันทึกของพระนางฮเยคยอง]]กล่าวว่าองค์ชายรัชทายาทซาโดทรงมีอาการทางพระสติจริงๆ
 
== พระราชวงศ์ ==