ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เนลสัน แมนเดลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: ลิงก์บทความคัดสรร ml:നെൽ‌സൺ മണ്ടേല; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| term_start = [[27 เมษายน]] [[พ.ศ. 2537]]
| term_end = [[14 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2542]]
| vicepresident = [[เฟรเดอริคเฟรเดอริก วิลเลมวิลเลิม เดอ เคลิร์กแกลร์ก]]<br />[[ทาบอ อึมแบกี]]
| predecessor = [[เฟรเดอริคเฟรเดอริก วิลเลมวิลเลิม เดอ เคลิร์กแกลร์ก]]
| successor = [[ทาบอ อึมแบกี]]
| order2 = เลขาธิการ[[ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด]] คนที่ 19
บรรทัด 26:
}}
 
'''เนลสัน โรลีลาลา แมนเดลา''' ([[ภาษากโฮซาคอซา|กโฮซาคอซา]]: {{lang|xh|Nelson Rolihlahla Mandela}}, {{IPA|[xoˈliɬaɬa manˈdeːla]}}) เกิดวันที่ [[18 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2461]] ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก [[ประเทศแอฟริกาใต้]]<ref name="nobel">{{cite web|url=http://nobelprize.org/nobel_prizes/peace/laureates/1993/mandela-bio.html|title=Nelson Mandela - Biography|publisher=The Nobel Foundation|year=1993|accessdate=2009-04-30}}</ref> ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี พ.ศ. 2537-2542 และเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งตามกระบวนการทาง[[ประชาธิปไตย]]อย่างถูกต้อง ก่อนหน้าการดำรงตำแหน่งนี้นี้ เขาได้เป็นที่รู้จักกันทั้งในและนอกประเทศในฐานะที่เคยเป็นนักเคลื่อนไหวตัวยงเพื่อต่อต้าน[[การถือผิวในประเทศแอฟริกาใต้]] จากที่แรกเริ่มเป็นผู้เคลื่อนไหวในทางสันติ ได้กลายมาเป็นผู้นำกลุ่มกองกำลังติดอาวุธของ[[พรรคสมัชชาแห่งชาติแอฟริกา]] และได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่อต้านใต้ดินโดยใช้อาวุธ เช่น การก่อวินาศกรรม ในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้นำต่างชาติที่นิยมการถือผิวในประเทศแอฟริกาใต้ เช่น [[มาร์กาเรต แทตเชอร์]] และ[[โรนัลด์ เรแกน]] ได้ประณามกิจกรรมเหล่านี้ว่าเป็น[[การก่อการร้าย]]
 
เขาถูกจำคุกเป็นเวลาทั้งสิ้น 27 ปี ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นการถูกคุมขังในห้องขังเล็ก ๆ บน[[เกาะโรบเบิน]] การถูกคุมขังนี้ได้กลายมาเป็นกรณีตัวอย่างของความอยุติธรรมของนโยบายการถือผิวที่ถูกกล่าวถึงไปทั่ว เมื่อเขาได้รับการปล่อยตัวในปี [[พ.ศ. 2533]] นโยบายประสานไมตรีที่เนลสันได้นำมาใช้ทำให้แอฟริกาใต้ก้าวเข้าสู่ยุคใหม่แห่งประชาธิปไตย เป็นที่ยกย่องอย่างสูงภายในประเทศแอฟริกาใต้ในฐานะ[[รัฐบุรุษ]]อาวุโส ชาวแอฟริกันขนานนามสมาชิกชายอาวุโสของตระกูลแมนเดลาอย่างให้เกียรติว่า '''มาดิบา''' แต่มักเจาะจงหมายถึงเนลสัน แมนเดลาเท่านั้น เนลสัน แมนเดลา เสียชีวิตเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ที่บ้านของเขาในโจฮันเนสเบิร์ก หลังจากเจ็บป่วยมาเป็นเวลานาน
บรรทัด 93:
การพบปะครั้งแรกระหว่างแมนเดลากับรัฐบาลพรรคชาตินิยมเกิดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2528 เมื่อโคบี โคตซี พบกับแมนเดลาที่โรงพยาบาลโฟล์คสในเคปทาวน์ ขณะที่แมนเดลาต้องไปรับการผ่าตัดต่อมลูกหมากที่นั่น<ref>{{cite web|url=http://www.mandela-children.ca/index.php?option=com_content&task=view&id=109|title=Key Dates in South African History|publisher=Nelson Mandela Children's Fund|accessdate=2008-10-28}}</ref> ตลอดเวลาสี่ปีต่อมา ก็มีการพบปะกันระหว่างทั้งสองฝ่ายกันอีกหลายครั้ง เป็นพื้นฐานของการติดต่อและเจรจาต่อรองในลำดับถัด ๆ ไป แต่ก็ไม่ได้มีความคืบหน้าอย่างจริงจังมากนัก<ref name=sparks/>
 
ตลอดช่วงเวลาที่แมนเดลาติดอยู่ในคุก มีแรงกดดันทั้งในท้องถิ่นและจากนานาชาติต่อรัฐบาลแอฟริกาใต้เพื่อให้ปล่อยตัวเขา ภายใต้คำขวัญที่ว่า ''Free Nelson Mandela!''<ref>{{cite web|url=http://www.anc.org.za/ancdocs/history/campaigns/prisoner.html|title=Free Nelson Mandela|date=July 1988|publisher=African National Congress|accessdate=2008-10-28}}</ref> เมื่อถึงปี [[พ.ศ. 2532]] ประเทศแอฟริกาใต้ก็มาถึงจุดเปลี่ยน เมื่อประธานาธิบดีโบทาป่วยหนักและถูกแทนที่ด้วย [[เฟรเดอริคเฟรเดอริก วิลเลมวิลเลิม เดอ เคลิร์กแกลร์ก]]<ref>{{cite web|url=http://www.independent.co.uk/news/world/africa/pw-botha-unrepentant-defender-of-apartheid-dies-aged-90-422425.html|title=PW Botha, unrepentant defender of apartheid, dies aged 90|date=1 November 2006 |publisher=The Independent|accessdate=2008-10-28}}</ref> เดอ เคลิร์กแกลร์ก ได้ประกาศปล่อยตัวแมนเดลาเป็นอิสระในเดือนกุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2533]]<ref>{{cite book|last=Malam|first=John|title=The Release of Nelson Mandela: 11 February 1990|publisher=Cherrytree Books|date=2002|isbn=1842341030}}</ref>
 
=== การปล่อยตัว ===
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 ประธานาธิบดี [[เอฟ.เฟรเดอริก ดับเบิลยู.วิลเลิม เดอ เคลิร์กแกลร์ก]] ยกเลิกประกาศแบนขบวนการเอเอ็นซีและองค์กรต่อต้านการแบ่งแยกสีผิวกลุ่มอื่น ๆ และประกาศว่าแมนเดลาจะได้รับการปล่อยตัวจากคุกในไม่ช้า<ref>{{cite web|url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/february/11/newsid_2539000/2539947.stm|title=1990: Freedom for Nelson Mandela|date=11 February 1990|publisher=BBC|accessdate=2008-10-28}}</ref> แมนเดลาได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำวิกเตอร์ เวอร์สเตอร์ ที่พาอาร์ล (Paarl) เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2533]] ซึ่งเหตุการณ์นั้นมีการถ่ายทอดสดไปทั่วโลก<ref>{{cite web|url=http://century.guardian.co.uk/1990-1999/Story/0,,112389,00.html|title=Mandela free after 27 years|last= Ormond|first=Roger |date=12 February 1990|publisher=The Guardian|accessdate=2008-10-28}}</ref>
 
ในวันที่ได้รับการปล่อยตัว แมนเดลาได้กล่าวสุนทรพจน์ต่อประชาชนทั้งประเทศ<ref name="ANCSpeech"> {{cite web|url=http://www.anc.org.za/ancdocs/history/mandela/1990/release.html|title=Nelson Mandela's address to Rally in Cape Town on his Release from Prison|date=11 February 1990|publisher=African National Congress|accessdate=2008-10-28}}</ref> เขาประกาศเจตนารมณ์ในการแสวงหาสันติภาพและการประนีประนอมกับชนผิวขาวกลุ่มน้อยในประเทศ แต่ก็ได้ประกาศอย่างชัดเจนว่ากองกำลังติดอาวุธของเอเอ็นซีจะยังคงอยู่
บรรทัด 103:
 
=== การเจรจาต่อรอง ===
[[ไฟล์:Frederik de Klerk with Nelson Mandela - World Economic Forum Annual Meeting Davos 1992.jpg|thumb|250px|เฟรเดริก เดอ เคลิร์กแกลร์ก กับเนลสัน แมนเดลา ในการประชุมประจำปี World Economic Forum พ.ศ. 2535]]
 
หลังจากที่แมนเดลาได้รับการปล่อยตัวจากคุก เขาได้กลับมาเป็นผู้นำพรรคเอเอ็นซีระหว่างปี พ.ศ. 2533-2537 และนำพรรคเข้าสู่การเจรจาร่วมหลายพรรค ซึ่งนำไปสู่การเลือกตั้งหลายชนชาติเป็นครั้งแรกของประเทศ<ref>{{cite web|url=http://www.sahistory.org.za/pages/library-resources/online%20books/crime-humanity/menu.htm|title=A Crime Against Humanity - Analysing the Repression of the Apartheid State|publisher=South African History Online|accessdate=2008-12-23}}</ref>
บรรทัด 109:
ปี พ.ศ. 2534 พรรคเอเอ็นซีได้จัดการประชุมระดับชาติขึ้นเป็นครั้งแรกในแอฟริกาใต้หลังจากได้รับประกาศยกเลิกการแบนแล้ว และเลือกให้แมนเดลาขึ้นเป็นประธานขององค์กร เพื่อนและสหายเก่าของเขาคือ โอลิเวอร์ แทมโบ ซึ่งเป็นผู้นำขบวนการภายใต้การลี้ภัยมาตลอดเวลาที่แมนเดลาอยู่ในคุก ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นท่านประธานแห่งชาติ (National Chairperson)<ref name=ancprofile>{{cite web|url=http://www.anc.org.za/people/mandela.html|publisher=African National Congress|title=Profile of Nelson Rolihlahla Mandela|accessdate=2007-05-08}}</ref>
 
บทบาทการเป็นผู้นำของแมนเดลาในการเจรจาร่วมกันกับประธานาธิบดี [[เอฟ.ดับเบิลยู.เฟรเดอริก วิลเลิม เดอ เคลิร์กแกลร์ก]] เป็นที่ประจักษ์อย่างโดดเด่น และทำให้ทั้งสองได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]]ร่วมกันในปี พ.ศ. 2536 อย่างไรก็ดี สัมพันธภาพระหว่างคนทั้งสองในบางคราวก็ค่อนข้างตึงเครียด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแลกหมัดครั้งใหญ่ใน พ.ศ. 2534 ซึ่งเขาเอ่ยถึงเดอ เคลิร์กแกลร์ก อย่างดุเดือดว่าเป็นหัวโจกของ "รัฐบาลเสียงข้างน้อย ไม่มีความน่าเชื่อถือ และนอกกฎหมาย" การเจรจาแตกหักนี้เกิดขึ้นหลังจากเหตุการณ์สังหารหมู่ที่บัวปาตง ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2535 แมนเดลานำพรรคเอเอ็นซีออกจากการเจรจา และกล่าวหารัฐบาลของเดอ เคลิร์กแกลร์ก ว่าสมรู้ร่วมคิดกับการสังหารหมู่ครั้งนี้<ref name=boipatong>{{cite web|url=http://www.anc.org.za/ancdocs/pr/1992/pr0618.html|title=Boipatong Massacre|date=1992-06-18|accessdate=2008-05-26|publisher=African National Congress}}</ref> แต่การเจรจาก็ได้หวนมาดำเนินสืบต่อหลังจากการสังหารหมู่ที่บิโช ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 เมื่อเหตุการณ์ส่อให้เห็นว่ามีแต่เพียงการเจรจากันเท่านั้นจะหลีกเลี่ยงการประจันหน้าที่รุนแรงลงไปได้<ref name=longwalk/>
 
หลังจากการลอบสังหารผู้นำพรรคเอเอ็นซี [[คริส ฮานิ]] ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2536 ก็มีภัยชนิดใหม่เกิดขึ้นที่อาจนำประเทศไปสู่ความรุนแรงอีกครั้ง<ref>{{cite web|url=http://www.highbeam.com/doc/1G1-14028944.html|title=Chris Hani assassinated. (Obituary)|publisher=Social Justice |accessdate=2008-12-23}}</ref> แมนเดลาได้กล่าวอ้อนวอนขอให้ประเทศอยู่ในความสงบ ในสุนทรพจน์คราวนั้นเรียกกันว่าเป็นสุนทรพจน์ "ของประธานาธิบดี" แม้ว่าเวลานั้นเขาจะยังไม่ได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีของประเทศ
บรรทัด 119:
== การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ==
[[ไฟล์:Nelson Mandela 1998.JPG|thumb|200px|เนลสัน แมนเดลา ที่ประเทศบราซิล ในปี พ.ศ. 2541]]
การเลือกตั้งแบบหลากชนชาติครั้งแรกในแอฟริกาใต้โดยที่พลเมืองทุกคนมีสิทธิเสียงเท่ากัน เกิดขึ้นในวันที่ [[27 เมษายน]] [[พ.ศ. 2537]] [[พรรคเอเอ็นซี]]ชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียง 62% และแมนเดลาในฐานะผู้นำพรรคเอเอ็นซีได้เข้าพิธีรับตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีในวันที่ [[10 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2537]] เป็นประธานาธิบดีผิวดำคนแรกของประเทศ โดยมี เดอ เคลิร์กแกลร์ก จากพรรคชาตินิยม และทาโบ อึมแบกี เป็นรองประธานาธิบดีทั้งสองคนในการตั้งรัฐบาลผสมแห่งชาติ<ref>{{cite web | title=Mandela becomes SA's first black president | publisher=BBC | url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/may/10/newsid_2661000/2661503.stm | accessdate=2008-05-26}}</ref> เขาเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2537 จนถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542 ได้เปลี่ยนแปลงกฎหมายเกี่ยวกับการเหยียดสีผิวหรือชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ และได้รับความยกย่องจากนานาชาติสำหรับการอุทิศตนเพื่อการประสานไมตรีทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ<ref>{{cite web|url=http://nobelprize.org/nobel_prizes/peace/laureates/1993/presentation-speech.html|title=The Nobel Peace Prize 1993 - Presentation Speech|publisher=Nobelprize.org|accessdate=2008-10-28}}</ref> แมนเดลาให้การสนับสนุนแก่ชาวแอฟริกันผิวดำให้เข้าร่วมและสนับสนุนทีมสปริงบอกส์ ซึ่งเป็นทีมชาติ[[รักบี้]]ของแอฟริกาใต้ ในโอกาสที่ประเทศแอฟริกาใต้ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันรักบี้โลกในปี พ.ศ. 2538<ref>{{cite web|url=http://news.bbc.co.uk/sport1/hi/rugby_union/rugby_world_cup/team_pages/south_africa/3167692.stm|title=Mandela rallies Springboks|date=6 October 2003|publisher=BBC Sport|accessdate=2008-10-28}}</ref> หลังจากทีมสปริงบอกส์สามารถเอาชนะทีมรักบี้จาก[[นิวซีแลนด์]]ได้ในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ แมนเดลาเป็นผู้มอบถ้วยรางวัลให้แก่กัปตันทีม ฟรังซัวส์ ปีเยนาร์ ชาวแอฟริกันซึ่งสวมเสื้อทีมสปริงบอกส์กับตัวเลข 6 บนหลังซึ่งเป็นหมายเลขประจำตัวของเขา ภาพนี้เผยแพร่ไปทั่วไปในฐานะก้าวย่างอันสำคัญแห่งการสมานฉันท์ระหว่างชนผิวขาวและผิวดำในแอฟริกาใต้<ref>{{cite web|url=http://www.telegraph.co.uk/portal/main.jhtml?view=DETAILS&grid=&xml=/portal/2007/10/19/ftmandela119.xml|title=How Nelson Mandela won the rugby World Cup |date=19 October 2007|publisher=The Daily Telegraph|accessdate=2008-10-28}}</ref>
 
หลังจากที่เป็นประธานาธิบดี สัญลักษณ์สำคัญอย่างหนึ่งของแมนเดลาคือการสวมเสื้อ[[บาติก]] ที่เรียกกันว่า "เสื้อมาดิบา" แม้กระทั่งในงานพิธีการต่าง ๆ<ref>{{cite web|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/africa/3532916.stm|title=How Mandela changed SA fashion|last=Khumalo |first=Fred|date=5 August 2004|publisher=BBC|accessdate=2008-10-28}}</ref> ในการปฏิบัติการทางทหารของแอฟริกาใต้ครั้งแรกหลังจากยุติการแบ่งแยกสีผิว แมนเดลาสั่งการให้กองทัพเคลื่อนเข้าไป[[ประเทศเลโซโท|เลโซโท]] ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 เพื่อช่วยปกป้องรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี Pakalitha Mosisili หลังจากที่มีการเลือกตั้งอันวุ่นวายและเกิดการประจันหน้ากันระหว่างฝ่ายตรงข้ามกับฝ่ายรัฐบาลที่ไร้เสถียรภาพ<ref name=Lesotho>{{cite web | url=http://www.africa.upenn.edu/Newsletters/lsno8.html | title=Lesotho to hold re-elections within 15 to 18 months | publisher=Lesotho News Online | author= Thai, Bethuel | date=1998-10-04 | accessdate=2008-05-26}}</ref> นักวิจารณ์จำนวนมากรวมถึงนักรณรงค์ต่อต้าน[[โรคเอดส์]] เช่น เอ็ดวิน คาเมรอน ได้วิพากษ์วิจารณ์แมนเดลาอย่างมากในความไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาลของเขากับการรับมือวิกฤตการณ์โรคเอดส์<ref>{{cite web | url=http://www.guardian.co.uk/world/2003/jul/06/nelsonmandela.southafrica | title=Mandela at 85 | work=The Observer | first=Anthony | last=Sampson | authorlink=Anthony Sampson | date=2003-07-06|accessdate=2008-05-26}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.time.com/time/europe/html/040419/mandela.html | title=The Lion In Winter | first=Simon | last=Robinson | work=นิตยสารไทมส์ | date=2007-04-11|accessdate=2008-05-26}}</ref> หลังจากที่เขาเกษียณแล้ว แมนเดลายอมรับว่าเขาทำให้ประเทศต้องผิดหวังเนื่องจากมิได้ให้ความสำคัญกับการระบาดของเชื้อ[[เอชไอวี]]และ[[โรคเอดส์]]เท่าที่ควร<ref>{{cite web | title=Can Mandela's AIDS Message Pierce the Walls of Shame? | publisher=Peninsula Peace and Justice Center | date=2005-01-09 | url=http://peaceandjustice.org/article.php?story=20050109125126110&mode=print|accessdate=2008-05-26}}</ref><ref>{{cite web | title=South Africa: Mandela Deluged With Tributes as He Turns 85 | url=http://allafrica.com/stories/200307190001.html | publisher=AllAfrica.com | first=Ofeibea | last=Quist-Arcton | date=2003-07-19|accessdate=2008-05-26}}</ref> นับแต่นั้นแมนเดลาได้ขึ้นพูดในหลายโอกาสเพื่อรณรงค์ต่อต้านการแพร่กระจายของโรคเอดส์<ref>{{cite web|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/africa/1049582.stm|title=Mandela's stark Aids warning|date=1 December 2000|publisher=BBC News|accessdate=2008-12-23}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.nytimes.com/2005/01/07/international/africa/07mandela.html|title=Mandela, Anti-AIDS Crusader, Says Son Died of Disease|date=7 January 2005|publisher=นิวยอร์กไทมส์|accessdate=2008-12-23}}</ref>
บรรทัด 235:
 
== งานเขียนอัตชีวประวัติ ==
หนังสืออัตชีวประวัติของแมนเดลา ชื่อ ''Long Walk to Freedom'' ได้ตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2537 แมนเดลาเริ่มเขียนบันทึกชิ้นนี้อย่างลับ ๆ ตั้งแต่เขายังอยู่ในคุก<ref>Mandela 1996, p. 144-148.</ref> ในหนังสือนี้ แมนเดลาไม่ได้เปิดเผยสิ่งใดเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิดซึ่งเฟรเดอริก เอฟ. ดับเบิลยู.วิลเลิม เดอเคลิร์กอ แกลร์ก อ้างไว้เกี่ยวกับการเกิดเหตุรุนแรงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 80 และ 90 หรือความเกี่ยวข้องระหว่างอดีตภรรยา วินนี แมนเดลา ในการหลั่งเลือดคราวนั้นเลย อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมาเขาได้ให้ความร่วมมือกับเพื่อนนักข่าวชื่อ แอนโทนี แซมป์สัน ซึ่งสอบถามแมนเดลาเกี่ยวกับเรื่องนี้ และปรากฏเนื้อหาอยู่ในหนังสือ ''The Authorised Biography''<ref>{{cite web|url=http://www.wsws.org/articles/1999/aug1999/mand-a05.shtml|title=Biography falls short of penetrating myth surrounding ANC leader|last=Ann|first=Talbot|date=5 August 1999|publisher=International Committee of the Fourth International (ICFI)|accessdate=2008-10-28}}</ref> ยังมีรายละเอียดเรื่องการสมรู้ร่วมคิดอื่น ๆ ที่แมนเดลาไม่ได้เอ่ยถึง อยู่ในหนังสือเรื่อง ''Goodbye Bafana''<ref name="NewStatesman">{{cite web|url=http://www.newstatesman.com/film/2007/05/goodbye-bafana-mandela-life|title=Whitewashed and watered down|last= Gilbey|first=Ryan|date=14 May 2007|publisher=New Statesman|accessdate=2008-10-28}}</ref> ผู้เขียนคือผู้คุมคนหนึ่งบนเกาะโรบเบิน เจมส์ เกรกอรี อ้างว่าได้สนิทสนมกันกับแมนเดลาเมื่ออยู่ในคุก และตีพิมพ์รายละเอียดเรื่องชู้สาวของครอบครัวของเขาในหนังสือ<ref name="NewStatesman"/> แซมป์สันยืนยันว่าแมนเดลาไม่ได้รู้จักมักจี่กับเกรกอรี แต่เกรกอรีเป็นคนเซ็นเซอร์จดหมายทุกฉบับที่ส่งไปถึงแมนเดลา จึงได้รู้เรื่องราวชีวิตส่วนตัวของเขาอย่างละเอียด แซมป์สันยังยืนยันด้วยว่าผู้คุมคนอื่น ๆ พากันสงสัยว่าเกรกอรีเป็นสายลับของรัฐบาล และแมนเดลาควรจะฟ้องร้องนายเกรกอรีคนนี้<ref name=sampson>{{cite book
| title = Mandela: The Authorised Biography
| first = Anthony
บรรทัด 248:
{{บทความหลัก|รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา}}
 
แมนเดลาได้รับรางวัลเกียรติยศจากแอฟริกาใต้และจากประเทศต่าง ๆ มากมาย รวมถึง[[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]] ในปี พ.ศ. 2536 (ร่วมกันกับ เฟรเดอริคเฟรเดอริก วิลเลมวิลเลิม เดอ เคลิร์กแกลร์ก)<ref>{{cite web|url=http://nobelprize.org/nobel_prizes/peace/laureates/1993/|title=The Nobel Peace Prize 1993|publisher=Nobelprize.org|accessdate=2008-10-26}}</ref> เขาได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Order of Merit และ Order of St. John จาก[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] เหรียญอิสริยาภรณ์แห่งเสรีภาพจากประธานาธิบดี [[จอร์จ ดับเบิลยู. บุช]]<ref>{{cite web|url=http://www.royal.gov.uk/output/page1880.asp|title=The Order of Merit|date=November 2002|publisher=Royal Insight|accessdate=2008-10-26}}</ref><ref>{{cite web|url=http://georgewbush-whitehouse.archives.gov/news/releases/2002/07/20020709-8.html|title=President Honors Recipients of the Presidential Medal of Freedom|date=9 July 2002 |publisher=The White House|accessdate=2008-10-26}}</ref> ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 นครโยฮันเนสเบิร์กได้ทำพิธีมอบ[[กุญแจเมือง]] อันเป็นการให้เกียรติสูงสุดแก่แมนเดลา โดยจัดพิธีที่เมืองออร์ลันโด โซเวโต ประเทศแอฟริกาใต้<ref>{{cite web|url=http://www.gpg.gov.za/docs/nz/2004/nz0727.html|title=Madiba conferred freedom of Johannesburg|date=27 July 2004 |publisher=Gauteng Provincial Government|accessdate=2008-10-26}}</ref>
 
ตัวอย่างการได้รับเกียรติอย่างสูงจากนานาประเทศ ได้แก่ การเดินทางไปเยือน[[ประเทศแคนาดา]]คราวหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2541 เด็กนักเรียนกว่า 45,000 คนได้มาร่วมต้อนรับอย่างล้นหลามในการขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ที่สกายโดมในเมือง[[โตรอนโต]]<ref>{{cite web|url=http://www.rooneyproductions.com/events/m_child.htm|title=Mandela and the Children|publisher=Rooney Productions|accessdate=2008-10-26}}</ref> ปี พ.ศ. 2544 แมนเดลาได้เป็นบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่คนแรกที่ได้รับมอบตำแหน่งพลเมืองกิตติมศักดิ์ของแคนาดา (คนก่อนหน้านี้คือ ราอูล วอลเลนเบิร์ก ผู้ได้รับตำแหน่งพลเมืองกิตติมศักดิ์หลังจากเสียชีวิตแล้ว)<ref>{{cite web|url=http://www.cbc.ca/canada/story/2001/11/19/mandela_011119.html|title=Mandela to be honoured with Canadian citizenship|date=19 November 2001 |publisher=CBC News|accessdate=2008-10-26}}</ref> นอกจากนี้เขายังได้รับเหรียญตราแห่งแคนาดา (Order of Canada) อันเป็นเครื่องหมายเกียรติยศสูงสุดทางฝ่ายพลเรือนของแคนาดา เป็นหนึ่งในชาวต่างประเทศเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่จะได้รับ<ref>{{cite web|url=http://www.gg.ca/honours/search-recherche/honours-desc.asp?TypeID=orc&id=3904&lang=e|title=Order of Canada - Nelson Mandela, C.C.|publisher=Governor General of Canada|accessdate=2008-10-26}}</ref>
บรรทัด 316:
| ก่อนหน้า = [[บิล คลินตัน]]
| ตำแหน่ง = [[บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์]]
| ปี = [[ค.ศ. 1983]]<br />ร่วมกับ [[เฟรเดอริก วิลเลิม เดอ เคลิร์กแกลร์ก]], [[ยัสเซอร์ อาราฟัต]] และ[[ยิตซัค ราบิน]]
| ถัดไป = [[สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2]]
}}