ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮอสท์-เว็สเซิล-ลีท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ขยายความ (แปลเพิ่มจากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล เพลงชาติ
| title = {{lang-de|Horst-Wessel-Lied}}
เส้น 20 ⟶ 19:
}}
 
'''ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด''' ({{lang-de|Horst-Wessel-Lied}}, แปลว่า "เพลงฮอสท์ เวสเซิล") หรือที่รู้จักจากคำขึ้นต้น '''"ดีฟาเนอฮอค"''' ({{lang-de|Die Fahne hoch}}, "ธงอยู่สูงเด่น") เป็นเพลงประจำ[[พรรคนาซี]]ตั้งแต่ ค.ศ. 1930 - 1945 และใช้เป็น[[เพลงชาติ]]ร่วมของ[[นาซีเยอรมนี]] ตั้งแต่ ค.ศ. 1933 - 1945 และเป็นเพลงชาติเยอรมนีร่วมกับเพลง "[[ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน]]" บทแรก ตั้งแต่ ค.ศ. 1933 - 1945<ref>Geisler, [http://books.google.com/books?id=CLVaSxt-sV0C&pg=PA71 p.71.]</ref>
 
ประพันธ์เนื้อร้องของเพลงนี้ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1929 ที่เขตฟรีดริชซ์ไฮน์ [[กรุงเบอร์ลิน]] [[ประเทศเยอรมนี]] โดย[[ฮอสท์ เวสเซิล]] ซึ่งเป็นนักเคลื่อนไหว[[ลัทธินาซี]]และเป็นผู้บัญชาการกองพลวายุ "[[ชตูร์มับไทลุง]]" (Sturmabteilung) หรือ "เอสอา" (SA) ระดับท้องถิ่น ต่อมาเมื่อเวสเซิลถูกสมาชิกอัลเบรชต์ เฮอเลอร์ (Albrecht Höhler) [[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศเยอรมนี]]คนหนึ่งสังหารอย่างอุกอาจใน ค.ศ. 1930 ก็มีโจเซฟ เกิบเลส์ ได้ดำเนินการยกย่องให้ทำให้เขาเป็นวีรบุรุษผู้สละชีพเพื่อมรณสักขีแห่งขบวนการพรรคนาซี เพลงนี้นำไปใช้เป็นเพลงประจำพรรคนาซีอย่างเป็นทางการจึงได้มีการบรรเลงครั้งแรกในงานศพของเวสเซิลเอง และหลังจากนั้นก็ได้แพร่หลายไปถูกนำใช้อย่างรวดเร็วจากเข้มข้นในการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของพรรค เช่น การขับร้องเพลงนี้ของหน่วยเอสเอระหว่างการเดินแถวตามท้องถนน เป็นต้น
 
เมื่อพรรคนาซีเถลิงอำนาจในปี [[ค.ศ. 1933]] เพลง "ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด" ก็ได้รับการยอมรับให้เป็นสัญลักษณ์ของชาติอย่างหนึ่งตามกฎหมายซึ่งตราขึ้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1933 ร่วมกับเพลงในปีถัดมาจึงมีการออกข้อบังคับให้มีการชูแขนขวาทำ "[[ดัสลีดแดร์ดอยท์เชินการสดุดีฮิตเลอร์]]" ซึ่งใช้เป็นเพลงชาติเยอรมนีอยู่แล้ว ดังนั้นนาซีเยอรมนีจึงเมื่อมีเพลงชาติ 2 เพลง โดยการขับร้องนั้นขึ้นต้นด้วยเพลงดัสลีดแดร์ดอยท์เชินนี้ในบทที่ 1 (เฉพาะและบทแรกที่ 4 (ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน) ก่อน จากนั้นจึงตามด้วยเพลงฮอสท์ในตอนท้ายของภาพยนตร์เรื่อง "ทรีอุมฟ์เดสวิลเลนส์ -เวสเซิล-ลีด ชัยชนะแห่งเจตจำนง" ของ[[เลนี รีเฟนสทาล]] (ภาพยนตร์โฆษณาชวนเชื่อของพรรคนาซี) ซึ่งเผยแพร่ในข้อบังคับที่ปรากฏในเพลงฮอสท์-เวสเซิล-ลีดฉบับพิมพ์ปี [[ค.ศ. 1934]]1935 ได้ระบุจะพบว่า ระหว่างที่ขับบรรดาผู้นำของพรรคนาซีมีการร่วมร้องเพลงนี้ในบทแรกและบทที่ 4 จะต้องชูแขนขวาขึ้นทำ "[[การสดุดีฮิตเลอร์]]ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด" อยู่ด้วย
 
หลังระบอบนาซีล่มสลายใน ค.ศ. 1945 "ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด" ได้กลายเป็นเพลงต้องห้าม ทั้งเนื้อร้องและทำนองเพลงดังกล่าวมิชอบด้วยกฎหมายทั้งใน[[ประเทศเยอรมนี]]และ[[ออสเตรีย]]จนทุกวันนี้ เว้นแต่ใช้เพลงเพื่อการศึกษาและวิชาการเท่านั้น
 
== เนื้อร้อง ==
{{โครง-ส่วน}}
 
{{multiple image
เส้น 46 ⟶ 44:
}}
 
บทร้อง "ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด" ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ของพรรคนาซีในกรุงเบอร์ลินชื่อ "แดร์อันกริฟฟ์" (Der Angriff) เมื่อเดือนกันยายน [[ค.ศ. 1929]] โดยลงนามผู้แต่งเพลงว่า "พลเอสอานิรนาม" ("Der Unbekannte SA-Mann") ซึ่งเป็นนามแฝงของ[[ฮอสท์ เวสเซิล]] มีใจความดังนี้
 
{|
เส้น 134 ⟶ 132:
 
การแก้ไขคำว่า "Barrikaden" (แปลว่า ด่านกีดขวาง) สะท้อนให้เห็นถึงความปรารถนาของพรรคนาซีในช่วงปี ค.ศ. 1930 - 1933 ที่ต้องการแสดงว่าเป็นพรรคการเมืองภายใต้รัฐธรรมนูญที่ต้องการอำนาจรัฐโดยชอบด้วยกฎหมายมากกว่าเป็นพรรคปฏิวัติ
 
หลังมรณกรรมของเวสเซิล ได้มีการเพิ่มเติมเนื้อร้องบทใหม่ซึ่งประพันธ์ขึ้นเป็นเกียรติแก่เวสเซิล เนื้อร้องเหล่านี้เป็นที่นิยมร้องโดยหน่วยเอสอา แต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อร้องฉบับทางการซึ่งใช้โดยพรรคหรือรัฐ
 
{|
|- valign="top"
|
:Sei mir gegrüßt, Du starbst den Tod der Ehre!
:Horst Wessel fiel, doch tausend neu erstehen
:Es braust das Fahnenlied voran dem braunen Heere
:SA bereit, den Weg ihm nachzugehen
 
:Die Fahnen senkt vor Toten, die noch leben
:Es schwört SA, die Hand zur Faust geballt
:Einst kommt der Tag, da gibts Vergeltung, kein Vergeben
:wenn Heil und Sieg durchs Vaterland erschallt.
|
:เราขอเคารพ ท่านตายด้วยเกียรติสูงส่ง!
:ฮอสท์ เวสเซิลสิ้น อีกนับพันจักเกิดก่อใหม่
:เพลงธงดังกังวาน นำทางกองทัพสีน้ำตาลไป
:เอสอาพร้อมใจ ติดตามแนวทางของท่าน
 
:ธงลดต่ำลง ต่อหน้าคนตายผู้ยังมีลมหายใจ
:เอสอาปฏิญาณ มือนั้นกุมหมัดไว้แน่น
:วันนั้นจักต้องมาถึง เพื่อล้างแค้น ไร้คำว่าอภัย
:เมื่อคำว่า "ไฮล์" และ "ซีก" (Sieg Heil - ชัยชนะจงเจริญ) ดังทั่วปิตุภูมิ
|}
 
== ทำนอง ==
หลังเวสเซิลเสียชีวิต เขาได้รับการยกย่องอย่างเป็นทางการว่าเป็นผู้ประพันธ์ทั้งเนื้อร้องและทำนองเพลง "ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด" อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปี ค.ศ. 1930 - 1933 ได้มีข้อวิจารณ์ถกเถียงเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว โดยชี้ว่าทำนองเพลงมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานกว่านั้น ตัวอย่างหนึ่งของเพลงที่มีทำนองคล้ายกับเพลงนี้มากก็คือเพลง "[[How Great Thou Art]]" ซึ่งเป็นเพลงสวดสรรเสริญพระเจ้า (hymn) อันเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป การวิจารณ์ฐานะความเป็นผู้ประพันธ์ของฮอสท์ เวสเซิล ได้กลายเป็นความคิดต้งห้ามไปหลังปี ค.ศ. 1933 เมื่อพรรคนาซีได้เถลิงอำนาจปกครองเยอรมนี และการวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องนี้อาจทำให้ได้รับโทษหนัก
 
แหล่งที่มาที่น่าจะส่งผลโดยตรงต่อทำนองเพลงนี้มากที่สุดเป็นบทเพลงยอดนิยมในจักรพรรดินาวีเยอรมันสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งไม่ต้องสงสัยเลยว่าเวสเซิลจะเคยได้ยินเพลงดังกล่าวที่ขับร้องโดยอดียทหารเรือในกรุงเบอร์ลินช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1920 เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันตามวรรคเริ่มของเพลงที่ว่า ''Vorbei, vorbei, sind all die schönen Stunden,'' หรือในชื่อ ''Königsberg-Lied,'' ตามชื่อเรือลาดตระเวน "เคอร์นิกสแบร์ก" ซึ่งถูกกล่าวถึงในเนื้อร้องฉบับหนึ่งของเพลงนี้ บทเริ่มของเพลงดังกล่าวทั้งหมดมีใจความว่า
 
{|
|- valign="top"
|
:Vorbei, vorbei sind all die schönen Stunden
:die wir verlebt am schönen Ostseestrand
:Wir hatten uns, ja uns so schön zusamm'n gefunden
:es war für uns der allerschönste Ort.
|
:ผันผ่านพ้นไป คือเวลาอันแสนสุขทั้งหมด
:ซึ่งเราได้ใช้ไปบนชายฝั่งทะเลบอลติก
:ในหมู่พวกเรา ทุกสิ่งทุกอย่างดูงดงามสดใส
:และเป็นที่ๆ ดีที่สุดของพวกเราทุกคน
|}
 
เพลงเยอรมันอีกเพลงหนึ่งชื่อว่า ''Der Abenteurer'' (นักผจญภัย) มีบทขึ้นต้นว่า
{|
|- valign="top"
|
:Ich lebte einst im deutschen Vaterlande
:Bei goldner Freiheit achtzehn Jahr dahin.
:Da zog die Neubegierde mich zum Strande,
:Und ich bestieg ein Schiff mit frohem Sinn.
|
:ครั้งหนึ่งฉันได้อาศัยในปิตุภูมิเยอรมนี
:ในอิสรภาพอันเรืองรองนานสิบแปดปี
:ความอยากรู้อยากเห็นได้ล่อลวงฉันมาที่ชายหาด
:แล้วฉันก็ได้ขึ้นเรือไปด้วยใจร่าเริงยินดี
|}
 
ในปี ค.ศ. 1936 [[อัลเฟรด ไวเดมันน์]] (Alfred Weidemann) นักวิจารณ์ดนตรีชาวเยอรมัน ได้ตีพิมพ์บทความซึ่งเขาได้ระบุว่าทำนองเพลงได้ประพันธ์ขึ้นในปี 1865 โดย [[ปีเตอร์ คอร์เนลิอุส]] ในฐานะ "Urmelodie" (source-melody, ทำนองเพลงต้นตอ).<ref>[http://www.nmz.de/artikel/wer-hat-denn-eigentlich-wen-erschossen "Wer hat denn eigentlich wen erschossen?"], ''neue musikzeitung'', 11/98 - 47th year</ref> ตามคำกล่าวของไวเดมันน์นั้น คอร์เนลิอุสได้ระบุเพลงนี้ว่าเป็น "ทำนองเพลงพื้นบ้านเวียนนา" ซึ่งสิ่งนี้ทำให้เขาสรุบว่านี่คือต้นตอแรกสุดของทำนองเพลง "ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด"<ref>Alfred Weidemann: ''Ein Vorläufer des Horst-Wessel-Liedes?'' In: ''Die Musik'' 28, 1936, S. 911f. Zitiert nach Wulf 1989, S. 270. ''Die Musik'' was published in Switzerland. Articles departing from the Nazi doctrine that Horst Wessel had originated both the lyrics and the tune could not be published in [[Nazi Germany]].</ref>
 
{{ต้องการ== อ้างอิง}} ==
{{Reflist}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 146 ⟶ 209:
[[หมวดหมู่:เพลงภาษาเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เยอรมนี]]
{{โครงดนตรี}}
 
{{Link FA|de}}