ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอรีส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| alt =
| caption = รูปปั้นแอรีส
| god_of = เทพเทพเจ้าแห่งสงคราม
| abode = [[ยอดเขาโอลิมปัส]], [[เธรซ]], [[มาซิโดเนีย (ราชอาณาจักรโบราณ)|มาซิโดเนีย]], [[ธีปส์ (ประเทศกรีซ)|ธีปส์]], [[สปาร์ตา]] และ[[คาบสมุทรแมนิ]]
| symbols = หอก, หมวกเกราะ, สุนัข, รถม้า, หมูป่า, แร้ง
บรรทัด 16:
| Roman_equivalent = [[มาร์ส]]
}}
'''แอรีส''' ({{lang-en|Ares}} {{IPA|/ˈɛəriz/}}; {{lang-grc|Ἄρης}}) ทรงเป็นเทพพระเจ้าแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งใน[[เทวสภาโอลิมปัส|สิบสองพระเจ้าโอลิมปัส]] และพระโอรสของ[[ซูส]]และ[[ฮีรา]]<ref>[[Hesiod]], ''Theogony'' 921 ([[Loeb Classical Library]] [http://books.google.com/books?id=lnCXI9oFeroC&dq=Ares+intitle%3Atheogony+inauthor%3Ahesiod&q=%22she%2C+mingling+in+love%22+Ares#v=snippet&q=%22she%2C%20mingling%20in%20love%22%20Ares&f=false numbering]); ''[[Iliad]]'', 5.890–896. By contrast, Ares' Roman counterpart [[Mars (mythology)|Mars]] was born from [[Juno (mythology)|Juno]] alone, according to [[Ovid]] (''[[Fasti (Ovid)|Fasti]]'' 5.229–260).</ref> ในวรรณกรรมกรีก พระองค์มักเป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับ[[อะธีนา]] ผู้ทรงเป็นเทพีเทพเจ้าแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ<ref>[[Walter Burkert]], ''Greek Religion'' (Blackwell, 1985, 2004 reprint, originally published 1977 in German), pp. 141; William Hansen, ''Classical Mythology: A Guide to the Mythical World of the Greeks and Romans'' (Oxford University Press, 2005), p. 113.</ref>
 
ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส แม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม พระองค์เป็นพลังที่อันตราย "ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน"<ref name="Burkert, p. 169">Burkert, ''Greek Religion'', p. 169.</ref> ความกลัว ([[โฟบอส (เทพปกรณัม)|โฟบอส]]) และความสยองขวัญ ([[ไดมอส (เทพปกรณัม)|ไดมอส]]) พระโอรส และความแตกสามัคคี ([[Enyo|เอนีโอ]]) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึก<ref>Burkert, ''Greek Religion'', p.169.</ref> ใน''[[อีเลียด]]'' ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าที่ซูสเกลียดที่สุด<ref>''[[Iliad]]'' 5.890–891.</ref> สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร<ref>Hansen, ''Classical Mythology'', pp. 114–115.</ref> คุณค่าของพระองค์ในฐานะพระเจ้าแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะใน[[สงครามกรุงทรอย]] แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ ([[ไนกี (เทพปกรณัม)|ไนกี]]) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะ<ref>Burkert, ''Greek Religion'',p. 169.</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/แอรีส"