ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โพไซดอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''โพไซดอน''' ({{lang-en|Poseidon}}, {{IPA-en|poʊˈsaɪdᵊn, pəˈsaɪdᵊn,|pron}}; {{lang-el|Ποσειδών}}, {{IPA|[pose͜edɔ́͜ɔn]}}) เป็นหนึ่งใน[[เทวสภาโอลิมปัส|สิบสองเทพโอลิมปัส]]ใน[[เทพปกรณัมกรีก]] พระราชอาณาเขตหลักคือมหาสมุทร และพระองค์ทรงได้รับขนานพระนามว่า "เทพแห่งทะเล" นอกเหนือจากนอกจากนี้ พระองค์ยังทรงได้รับขนานพระนามว่า "ผู้เขย่าโลก" (Earth-Shaker)<ref>Modern Greek media (e.g. [http://www.tanea.gr/ellada/article/?aid=4622103 "The Pacific: A history full of earthquakes"] ''[[Ta Nea]]'', 2011) and scholars (e.g. [http://www.koutouzis.gr/ifestia+sismoi.htm Koutouzis, Vassilis] ''Volcanoes and Earthquakes in [[Troizinia]]'') do not [[metaphor]]ically refer to Poseidon but instead to [[Enceladus (mythology)|Enceladus]], the chief of the [[Giants (Greek mythology)|ancient Giants]], to denote earthquakes in Greece.</ref> เนื่องจากบทบาทของพระองค์ในการก่อแผ่นดินไหว และ "ผู้กำราบม้า" (tamer of horses)<ref name="Burkert1985Poseidon">{{cite book | last=Burkert | first=Walter | authorlink=Walter Burkert | title=Greek Religion | year=1985 | publisher=Harvard University Press | location=Cambridge, MA | isbn=0-674-36281-0 | pages=136–39}}</ref> พระองค์มักทรงถูกพรรณาเป็นบุรุษสูงวัย มีพระเกษาหยิกและพระมัสสุ (หนวด) และทรงตรีศูล (สามง่าม) เป็นอาวุธ
 
แผ่นจารึก[[อักษรไลเนียร์บี]]แสดงว่า ที่ไพลอสและธีบส์กรีซยุคสำริดก่อนมีเทพโอลิมปัสมีการบูชาโพไซดอนเป็นเทพเจ้าพระเจ้าหลัก แต่ภายหลังมีการรวมพระองค์เข้าเป็นเทพเจ้าพระเจ้าโอลิมปัส พระองค์มีศักดิ์เป็นพระเชษฐาของซูสและเฮดีส ตำนานพื้นบ้านบางตำนานเล่าว่า [[เรีย]] พระมารดาของพระองค์ ช่วยพระองค์ไว้โดยซ่อนพระองค์ไว้กับฝูงแกะแล้วแสร้งทำเป็นว่าให้กำเนิดลูกลาออกมา เพื่อมิให้ถูก[[โครนัส]]กลืนกิน<ref name="ReferenceA">In the 2nd century AD, a well with the name of ''Arne'', the "lamb's well", in the neighbourhood of [[Mantineia]] in [[Arcadia]], where old traditions lingered, was shown to [[Pausanias (geographer)|Pausanias]]. (Pausanias viii.8.2.)</ref>
 
มีเพลงสวดสรรเสริญแด่โพไซดอนของโฮเมอร์ โพไซดอนทรงเป็นผู้พิทักษ์นครเฮเลนิกหลายนคร แม้พระองค์จะแพ้การแย่งชิงประกวดเพื่อชิงกรุง[[เอเธนส์]]แก่[[อะธีนา]] ตามอ้างอิงจากเพลโตในบทสนทนา ''Timaeus'' และ ''Critias'' เกาะ[[แอตแลนติส]]เป็นพระราชอาณาเขตที่โพไซดอนทรงเลือก<ref><span class="plainlinks">[http://www.activemind.com/Mysterious/Topics/atlantis/story.html The story of Atlantis]</span>. Retrieved October 02, 2012.</ref><ref name="Plato1971Penguin">{{cite book | last=Plato | first= | authorlink= Plato | title=Timaeus and Critias | year=1971 | publisher=[[Penguin Books Ltd]].| location=[[London]], [[England]] | isbn=9780140442618| pages=167}}</ref><ref name="ReferenceB">''Timaeus'' 24e–25a, R. G. Bury translation (Loeb Classical Library).</ref><ref name="ReferenceC">Also it has been interpreted that Plato or someone before him in the chain of the oral or written tradition of the report accidentally changed the very similar Greek words for "bigger than" ("meson") and "between" ("mezon") – {{cite book|last=Luce|first=J.V.|title=The End of Atlantis – New Light on an Old Legend|year=1969|publisher=Thames and Hudson|location=London|page=224}}</ref>
 
ที่[[แหลมสุนิออน]] ทางทิศตะวันออกของกรุงเอเธนส์ มี[[วิหารแห่งโพไซดอน]] ที่สร้างขึ้นเมื่อก่อนคริสต์ศักราช 440 ปี ถวายแด่พระองค์อยู่<ref>W. Burkert, ''Greek Religion'' (1987).</ref>
 
== อ้างอิง ==