ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มังกรคาบแก้ว (คุย | ส่วนร่วม)
Char (คุย | ส่วนร่วม)
เขียนใหม่ (ไม่สมบูรณ์)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Overhead lines, Puidoux.jpg|thumb|ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัวใน[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]]]
 
'''ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะ'''<ref>UIC English/French/German Thesaurus.</ref> เป็น[[ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ]]ประเภทหนึ่ง ประกอบด้วยสายลวดตัวนำเปลือย แขวนไว้กับลูกถ้วยฉนวนซึ่งยึดตรึงที่เสา กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขารับกระแสไฟฟ้าเหนือศีรษะที่เรียกว่า '''สาลี่''' เข้าสู่ระบบขับเคลื่อนขบวนรถ เพื่อให้ครบวงจรไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านรางรถไฟหรือ[[รางที่สี่|ราวเหล็กเส้นที่สี่]]ซึ่งต่อสายดินไว้ ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะมักต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าแรงสูง เพื่อลดการสูญเสียจากการส่งไฟฟ้าเป็นระยะทางไกล ๆ
'''ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว''' เป็น[[ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ]]ประเภทหนึ่ง มักรู้จักกันในชื่อ
* '''ระบบจ่ายไฟฟ้าติดต่อเหนือหัว''' ('''OCS''')
* '''อุปกรณ์ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว''' ('''OLE''' หรือ '''OHLE''')
* '''อุปกรณ์เหนือหัว''' ('''OHE''')
* '''ลวดเหนือหัว''' ('''OHW''') or '''overhead lines''' ('''OHL''')
* '''Catenary'''
* '''Trolley Wire'''
 
ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะ มีชื่อเรียกอื่นดังนี้
ในบทความนี้จะกล่าวถึงการใช้กับรถไฟ<ref>UIC English/French/German Thesaurus.</ref>
* '''ระบบจ่ายไฟฟ้าติดต่อชนิดสัมผัสเหนือหัว'''ศีรษะ ('''Overhead contact system; OCS''')
* '''อุปกรณ์ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว'''ศีรษะ ('''Overhead line equipment; OLE''' หรือ '''OHLE''')
* '''อุปกรณ์เหนือหัว'''ศีรษะ ('''Overhead equipment; OHE''')
* สายส่งเหนือศีรษะ (Overhead wiring; OHW หรือ overhead lines; OHL)
* สาลี่ (catenary)
* ล้อเข็นรับไฟ (trolley wire)
 
== หลักการทำงาน ==
ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัวนั้น ถูกออกแบบให้อยู่เหนือรางรถไฟ และส่ง[[กระแสไฟฟ้า]]จากด้านบน เข้าสู่ตัวรถไฟขณะวิ่งผ่าน
พลังงานไฟฟ้าที่จ่ายให้รถไฟด้วยวิธีเหนือศีรษะ จะจ่ายผ่านสาลี่ซึ่งเป็นคันเหล็กยันกับสายไฟฟ้าเปลือย ซึ่งสาลี่อาจเป็นแบบพับได้ (สาลี่พับ; pantograph) แบบบ่วงกลม (สาลี่บ่วง; bow collector) หรือแม้แต่เป็นลูกรอกติดปลายเหล็ก (สาลี่ติดรอก; trolley pole) ขบวนรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า จะยกสาลี่ขึ้นติดสายเพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าสู่ระบบขับเคลื่อน จากนั้นจึงจะไหลลงรางกลับไปยังสถานีจ่ายไฟ หรือลงดินต่อไป การจ่ายไฟฟ้าด้วยวิธีเหนือศีรษะมีข้อดีคือ บำรุงทางได้ง่ายโดยไม่ต้องพะวงกับการไปเหยียบกับราวจ่ายไฟฟ้าที่พื้น แต่มีข้อเสียคือเป็นตัวจำกัดความสูงของขบวนรถ นอกเหนือจากอุโมงค์ ทั้งนี้ทางรถไฟที่ติดตั้งระบบจ่ายไฟฟ้าไม่ว่าด้วยวิธีใดก็ตามสามารถให้รถจักรดีเซลและรถดีเซลรางทำขบวนผ่านได้โดยไม่มีผลใด ๆ ต่อระบบจ่ายไฟ
 
== ดูเพิ่ม ==