ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ด็อยท์เชอเว็ลเลอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q153770 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
แก้ไขการถอดคำ
บรรทัด 49:
| footnotes =
}}
'''ดอยช์ดอยเช่อ เวเลย์เวลเล่อ''' ({{lang-de|'''Deutsche Welle''' ชื่อย่อ: '''DW''' คำอ่าน: ดอยช์ดอยเช่อ เวเลย์เวลเล่อ}}) เป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ[[เยอรมนี]] จะนำเสนอข้อมูลข่าวสารและความรู้ผ่านโทรทัศน์ในระบบ VHF [[อินเทอร์เน็ต]] และวิทยุผ่าน[[ดาวเทียม]] ทีมีภาษาที่ใช้ในการออกอากาศทางวิทยุทั้งหมด 29 ภาษา ภายใต้ชื่อ สถานีวิทยุดอยช์ เวเลย์ (DW Radio) และการให้บริการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ช่อง DWTV ภาษาที่ใช้ในการออกอากาศทั้งหมด 4 ภาษา และมีเว็บไซต์ข้อมูลข่าวจากทางสถานีฯ รวมอยู่ด้วย ดอยช์ เวเลย์ จึงได้มีช่องทางในการรับการรับชมภาค[[ภาษาอังกฤษ]] เรียกว่า "German Wave" มีความคล้ายคลึงกับสถานีวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ อย่าง BBC World Service ,Radio Canada, Radio Free Europe, และ Radio France Internationale
 
โดยปกติ ดอยช์ดอยเช่อ เวเลย์เวลเล่อได้ก่อตั้ง ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1953]] จนกระทั่งปี [[ค.ศ. 2003]] ซึ่งเป็นรากฐานของเมือง[[โคโลญ]] หลังจากนั้นก็ได้มีการย้ายที่ทำการใหม่อยู่ที่เมืองบอร์น ก่อนหน้านั้นพื้นที่นี้เคยเป็นรัฐสภามาก่อน สาถานีวิทยุโทรทัศน์ และ ผู้ผลิดรายการในกรุง[[เบอร์รินเบอร์ลิน]] ดอยช์ดอยเช่อ เวเลย์เวลเล่อ จึงได้มีการผลิดเว็บไซต์นี้ขึ้น ทั้งกรุงเบอรลินเบอร์ลิน และ เมือง บอร์นเมืองบอนน์
 
== ประวัติ ==
ดอยช์ เวเลย์ได้ ได้เปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อ วันที่ 3 พฤษภาคม [[ค.ศ. 1953]] ผู้กล่าวปราศัยโดยนาย Theodor Heuss ประธานาธิบดีแห่ง[[ประเทศเยอรมัน]] เป็นการออกอากาศทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเป็นครั้งแรก วันที่ 11 มิถุนายน [[ค.ศ. 1953]] ในชื่อ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธาราณะแห่งประเทศเยอรมัน ชื่อย่อ ARD และดอยช์ดอยเช่อ เวเลย์ได้เห็นผ้องร่วมกันเวลเล่อได้เห็นผ้องร่วมกัน ผู้ควมคุมการผลิตอย่างแรกโดย เครือข่ายของ Nordwestdeutscher Rundfunk (WDR) รายการต่างๆของ ดอยช์ เวเลย์จึงให้ WDR ให้รับผิดชอบ ในปี [[ค.ศ. 1960]] ดอยช์ดอยเช่อ เวเลย์เวลเล่อ เป็น สื่อมวนชนอิสระ วันที่ 7 มิถุนายน [[ค.ศ. 1972]] จึงได้ร่วมกับ ARD ซึ่งเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ
 
=== ภาษาที่ใช้ในการออกอากาศ ===