ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นายทองสุก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''นายทองสุก''' หรือมักจะรู้จักในชื่อ '''สุกี้พระนายกอง''' หรือ '''สุกี้'''<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 138</ref> เป็นชาวไทยเชื้อสาย[[มอญ]] มีถิ่นฐานอยู่ ณ บ้านโพธิ์สามต้น
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 11:
{{ดูเพิ่มที่|ชุมนุมสมัยกรุงธนบุรี|การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก}}
 
ในพระราชพงศาวดารและ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้กล่าวตรงกันถึงการปฏิบัติต่อ[[พระเจ้าเอกทัศ]]อย่างพระมหากษัตริย์ ถึงขนาดทูลสัญญาว่าจะ "สถาปนากลับขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ของสยาม" ซึ่ง [[นิธิ เอียวศรีวงศ์]] อธิบายว่า นายทองสุกหวังจะตั้งตัวเป็นใหญ่ในอาณาจักรอยุธยา โดยอาศัยอดีตพระมหากษัตริย์เป็นเครื่องมือทางการเมือง จึงถือได้ว่า นายทองสุกมีความคิดที่จะรื้อฟื้นอาณาจักรอยุธยา<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 140-141</ref>
 
=== หลังจากการรบที่ค่ายโพธิ์สามต้น ===
หลักฐานเกี่ยวกับชะตากรรมของนายทองสุกอันเป็นที่รู้จักกันดี คือ นายทองสุกสิ้นชีวิตในที่รบ ณ ค่ายโพธิ์สามต้น ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ์ เอียวศรีวงศ์มีความเห็นว่า เป็นแนวคิดที่ต่อยอดมาจากแนวคิดของพระวนรัตน์ ซึ่งกล่าวว่า นายทองสุกเกรงเจ้าตากหนีไป และถูกฆ่าเสียในภายหลัง จนกลายเป็นแนวคิดในพระราชพงศาวดารซึ่งชำระหลังพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศเป็นต้นมา<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 141-142</ref>
 
อย่างไรก็ตาม ก็มีหลักฐานอื่นที่กล่าวว่าเหตุการณ์มิได้ระบุไว้เป็นเช่นนั้นอื่น อย่างเช่น
หลักฐานเกี่ยวกับชะตากรรมของนายทองสุกอันเป็นที่รู้จักกันดี คือ นายทองสุกสิ้นชีวิตในที่รบ ณ ค่ายโพธิ์สามต้น ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ์ มีความเห็นว่า เป็นแนวคิดที่ต่อยอดมาจากแนวคิดของพระวนรัตน์ ซึ่งกล่าวว่า นายทองสุกเกรงเจ้าตากหนีไป และถูกฆ่าเสียในภายหลัง จนกลายเป็นแนวคิดในพระราชพงศาวดารซึ่งชำระหลังพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศเป็นต้นมา<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 141-142</ref>
* ในหนังสือสังคีติยวงศ์ทซึ่งแต่งในสมัยรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ระบุว่า นายทองสุกหนีไปได้<ref>มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม. '''สาระน่ารู้กรุงธนบุรี'''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง, ๒๕๔๓ หน้า ๑๗๑ ISBN 9742722331</ref><ref>มูลนิธิกตเวทินในพระบรมราชูปถัมป์. '''ประวัติศาสตร์ชาติไทย'''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2547 หน้า 81 ISBN 974-92746-2-8</ref>
 
อย่างไรก็ตาม ก็มีหลักฐานอื่นที่กล่าวว่าเหตุการณ์มิได้เป็นเช่นนั้น อย่างเช่น
* ในหนังสือสังคีติยวงศ์ทซึ่งแต่งในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ระบุว่า นายทองสุกหนีไปได้<ref>มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม. '''สาระน่ารู้กรุงธนบุรี'''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง, ๒๕๔๓ หน้า ๑๗๑ ISBN 9742722331</ref><ref>มูลนิธิกตเวทินในพระบรมราชูปถัมป์. '''ประวัติศาสตร์ชาติไทย'''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2547 หน้า 81 ISBN 974-92746-2-8</ref>
* ในพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศและจดหมายโหรพระอมราภิรักขิต ซึ่งกล่าวตรงกันว่า นายทองสุกยอมอ่อนน้อมต่อเจ้าตากก่อนการรบที่ค่ายโพธิ์สามต้น<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 141-142</ref>