ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระสงฆ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''พระสงฆ์''' หมายถึง หมู่สาวกของ[[พระพุทธเจ้า]] ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของ[[พระพุทธเจ้า]]แล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตาม[[พระธรรมวินัย]]ที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้
 
'''พระสงฆ์''' จัดเป็นหนึ่งในพระ[[พระรัตนตรัย]] ซึ่งได้แก่ [[พระพุทธเจ้า]] [[พระธรรม (ศาสนาพุทธ)|พระธรรม]] และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะ[[อริยบุคคล|พระอริยสงฆ์]]<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 496</ref> คือบุคคลไม่ว่า[[คฤหัสถ์]]หรือ[[นักบวช]] และไม่ว่า[[มนุษย์]]หรือ[[เทวดา]] ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือ[[ภิกษุ]]หรือ[[ภิกษุณี]] คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะได้บรรลุธรรมตามพระพุทธเจ้าสั่งสอนไว้ ถือเป็น[[นักบวช]]ในพระพุทธศาสนา พระภิกษุปฏิบัติตามสิกขาบทที่กำหนดไว้จำนวน 227 ข้อ ส่วนพระภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ บางครั้งเรียกว่าสงฆ์ ภิกษุรูปแรกในพระศาสนาของ[[พระโคตมพุทธเจ้า]]คือ[[พระอัญญาโกณฑัญญะ]]
 
== ความหมาย ==
บรรทัด 10:
 
== ประเภทของพระสงฆ์ ==
[[พระไตรปิฎกภาษาบาลี]]ได้กล่าวถึงถึง '''พระสงฆ์''' ไว้ 2 ประเภท ได้แก่ '''สาวกสงฆ์''' และ '''ภิกขุสงฆ์'''<ref>[[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]], [http://84000.org/tipitaka/dic/v_line.php?A=3124&Z=3124 สงฆ์], พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์</ref>
'''พระสงฆ์''' ในทางพระพุทธศาสนามี 2 ประเภทใหญ่ ตามหลักการในบทสวด[[สังฆคุณ]] ''ยทิทํ'' ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ''จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฺฐ ปุริสปุคฺคลา'' คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้ 8 บุคคล อันหมายถึงพระสงฆ์ฝ่ายธรรม 4 และพระสงฆ์ฝ่ายวินัย 4
 
=== อริยสงฆ์สาวกสงฆ์ ===
[[พระ'''สาวกสงฆ์''' หรือที่สมัยหลังนิยมเรียกว่า '''อริยสงฆ์]]''' คือหมู่พระ[[อริยบุคคล]] ไม่ว่าเป็น[[คฤหัสถ์]]หรือ[[บรรพชิต]] ไม่ว่าเป็น[[มนุษย์]]หรือ[[เทวดา]] ถ้าบรรลุมรรคผลก็นับที่เป็นพระสงฆ์[[สาวก]]ของพระพุทธเจ้า โดยพระธรรมการบรรลุมรรคผล [[พระอริยบุคคล]] 4 ประเภท คือ
*# '''พระ[[โสดาบัน]] (''สุปฏิปณฺโณ'' ปฏิบัติดี , งาม)
*# '''พระ[[สกทาคามี]] (''อุชุปฏิปณฺโณ'' ปฏิบัติตรง , ถูกต้อง)
# '''พระ[[อนาคามี]]'''
* พระ[[อนาคามี]] (''ญายปฏิปณฺโณ''ปฏิบัติชอบ , เพื่อธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์)
*# '''[[พระอรหันต์]] (''สามีจิปฏิปณฺโณ''ปฏิบัติสมควร , เหมาะสม)
 
=== สมมุติภิกขุสงฆ์ ===
'''ภิกขุสงฆ์''' หรือที่สมัยหลังนิยมเรียกว่า '''สมมุติสงฆ์''' คือพระสงฆ์โดยสมมติ เป็นพระสงฆ์ด้วยพระวินัยหมู่[[ภิกษุ]] เพราะที่ได้รับการ[[อุปสมบท]]ตามพระบรมพุทธานุญาต จากพระเถระตั้งแต่ 4 รูปขึ้นไปเรียกว่าสงฆ์ เนื่องจากคำว่าสงฆ์แปลว่าหมู่ จึงเรียกหมู่พระภิกษุว่า'''ภิกษุสงฆ์''' และหมู่พระ[[ภิกษุณี]]ว่า'''ภิกษุณีสงฆ์''' จัดเป็น 4 วรรค ตามตามพระบรมพุทธานุญาติ ให้ทำสังฆกิจตามพระวินัย คือ จตุวรรค 4 รูป ปญฺจวรรค 5 รูป ทสวรรค 10 รูป วิสติวรรค 20 รูป แต่ถ้าพระภิกษุ 2-3 รูป เรียกว่า คณะ (เนื่องจากแบ่งพวกกันฝ่ายละ 2 รูปมิได้) ถ้าพระภิกษุรูปเดียว จัดเป็นบุคคล
 
== สังฆคุณ ==
* ''อนุตฺตรํ ปุญฺญเขตฺตํ โลกสฺส''เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
* '''สุปฏิปณฺโณ''' ผู้ปฏิบัติดีงาม
* ''อาหุเนยฺโย'' เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา (นำมาถวาย เช่นนำมาใส่บาตรขณะบิณฑบาตร)
* '''อุชุปฏิปณฺโณ''' ผู้ปฏิบัติตรง ถูกต้อง
* ''ปาหุเนยฺโย'' เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ (จัดไว้รอท่าให้ท่านมารับ เช่น การนิมนต์มาฉันที่บ้าน)
* พระ[[อนาคามี]] ('''ญายปฏิปณฺโณ''' ผู้ปฏิบัติชอบ , เพื่อธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์)
* ''ทกฺขิเนยฺโย'' เป็นสงฆ์ควรแก่การรับทักษิณาทาน (การเอ่ยปากขอเองจากท่าน)
* '''สามีจิปฏิปณฺโณ''' ผู้ปฏิบัติสมควร , เหมาะสม
* ''อฺญชลีกรณีโย'' เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำ[[อัญชลี]] (การประนมมือ)
* '''อนุตฺตรํ ปุญฺญเขตฺตํ โลกสฺส''' เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
 
* '''อาหุเนยฺโย''' เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา (นำมาถวาย เช่นนำมาใส่บาตรขณะบิณฑบาตร)
== ดูเพิ่ม ==
* '''ปาหุเนยฺโย''' เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ (จัดไว้รอท่าให้ท่านมารับ เช่น การนิมนต์มาฉันที่บ้าน)
* [[อริยบุคคล]]
* '''ทกฺขิเนยฺโย''' เป็นสงฆ์ควรแก่การรับทักษิณาทาน (การเอ่ยปากขอเองจากท่าน)
* [[สมมติสงฆ์]]
* '''อฺญชลีกรณีโย''' เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำ[[อัญชลี]] (การประนมมือ)
 
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{รายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิพจนานุกรม}}
* [http://www.youtube.com/watch?v=l6wxNmyBT3I เพลงประกอบภาพชีวิตสมณะ]
 
[[หมวดหมู่:พระสงฆ์| ]]