ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การควบแน่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Sirirat aimaerm (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
Sirirat aimaerm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:condensation on water bottle.jpg|right|thumb|ไอน้ำควบแน่นเป็นของเหลวหลังสัมผัสกับผิวขวดเย็น]]
'''การควบแน่น''' ({{lang-en|condensation}}) เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารเชิงกายภาพจากสถานะแก๊สเป็นสถานะของเหลว ตรงกันข้ามกับ[[การระเหย]] นอกจากนี้ ยังนิยามเป็นการเปลีย่นแปลงสถานะของไอน้ำเป็นน้ำเหลวเมื่อสัมผัสกับผิวใด ๆ เมื่อเกิดการเปลี่ยนผ่านจากสถานะแก๊สเป็นสถานะของแข็งโดยตรง เรียก [[การพอกพูน]] (deposition)
 
== ปฏิกิริยาการควบแน่น ==
'''ปฏิกิริยาการควบแน่น''' (condensation reaction)(รู้จักกันในชื่ออื่นว่า dehydration reaction หรือ dehydration synthesis ซึ่งมีความหมายว่ากำจัดน้ำออกไป) เป็น ปฏิกิริยาเคมี ที่ซึ่ง สอง โมเลกุล หรือ กึ่งหนึ่ง (moiety) ทำปฏิกิริยากันและกลายเป็นการเชื่อมต่อแบบ พันธะโควาเลนต์ ซึ่งกันและกันร่วมกับการสูญเสียโมเลกุลของ น้ำ เมทานอล หรือบางตัวของไฮโดรเจนฮาไลด์ เช่น HC l มันอาจถูกพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยาที่ตรงข้ามกับปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส คือการแยกสลายโมเลกุลใหญ่ให้กลายเป็นโมเลกุลเล็กพร้อมทั้งปล่อยน้ำออกมา กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในลักษณะซึ่งโมเลกุลของสารตั้งแต่ 2 โมเลกุลขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเลกุลของน้ำหรือโมเลกุลของสารอื่นออกไป อากาศเย็นมีความสามารถเก็บไอน้ำได้น้อยกว่าอากาศร้อน เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงจุดน้ำค้าง อากาศจะอิ่มตัวไม่สามารถเก็บไอน้ำได้มากกว่านี้ หากอุณหภูมิยังคงลดต่ำไปอีก ไอน้ำจะควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
 
== อ้างอิง ==
<references />>http://sulichaminmin2554.wordpress.com/ http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/clound/cloud_precip.htm
 
 
 
[[หมวดหมู่:อุณหพลศาสตร์]]