ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การควบแน่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sirirat aimaerm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:condensation on water bottle.jpg|right|thumb|ไอน้ำควบแน่นเป็นของเหลวหลังสัมผัสกับผิวขวดเย็น]]
'''การควบแน่น''' ({{lang-en|condensation}}) เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารเชิงกายภาพจากสถานะแก๊สเป็นสถานะของเหลว ตรงกันข้ามกับ[[การระเหย]] นอกจากนี้ ยังนิยามเป็นการเปลีย่นแปลงสถานะของไอน้ำเป็นน้ำเหลวเมื่อสัมผัสกับผิวใด ๆ เมื่อเกิดการเปลี่ยนผ่านจากสถานะแก๊สเป็นสถานะของแข็งโดยตรง เรียก [[การพอกพูน]] (deposition)
การควบแน่น (condensation) คือ กระบวนการที่ก๊าซ แปรสภาพเป็นของสถานะการควบแน่นั้น ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็น ในการทดลองต่างๆที่เกี่ยวกับการควบแน่น และมักจะปรากฏในชีวิตประจำวัน เช่น การเกิดฝน การควบแน่นเป็นปรากฏการที่มักพบเห็นอยู่บ่อยๆสังเกตได้ง่ายจากหยดน้ำที่เกาะข้างแก้วเป็นการกลั่นตัวแต่ใช้หลักการเดียวกันกับการควบแน่น ส่วนมากปรากฏการนี้จะเกิดจากเมฒคิวมูโลนิมบัส เพราะในตัวของเมฆนั้นจะมีไอน้ำเกาะตัวอยู่เป็นจำนวนมากอุณภูมิภายนอกนั้นสูงเลยทำให้เกิดการควบแน่น
 
== ปฏิกิริยาการควบแน่น ==
'''ปฏิกิริยาการควบแน่น''' เป็น ปฏิกิริยาเคมีที่ทั้งสองโมเลกุล หรือ กึ่งหนึ่ง (moiety) ทำปฏิกิริยากันและกลายเป็นการเชื่อมต่อแบบ พันธะโควาเลนต์ ซึ่งกันและกันร่วมกับการสูญเสียโมเลกุลของ น้ำ เมทานอล หรือบางตัวของไฮโดรเจนฮาไลด์ เช่น H C l อาจจะถูกพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยาที่ตรงกันข้ามกับปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส คือการแยกสลายโมเลกุลใหญ่ให้กลายเป็นโมเลกุลเล็กพร้อมทั้งปล่อยน้ำออกมาอากาศเย็นมีความสามารถเก็บไอน้ำได้น้อยกว่าอากาศร้อน เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงจุดน้ำค้าง อากาศจะอิ่มตัวไม่สามารถเก็บไอน้ำได้มากกว่านี้ หากอุณหภูมิยังคงลดต่ำไปอีก ไอน้ำจะควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
[[ไฟล์:เกิดฝน.jpg|thumbnail|แกนการเกิดการควบแน่น]]
 
== แกนควบแน่น ==
'''แกนควบแน่นในก้อนเมฆ หมอกและหยาดฝน''' อากาศที่เย็นมีความสามารถเก็บไอน้ำได้น้อยกว่าอากาศที่ร้อน เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงจุดน้ำค้าง อากาศจะอิ่มตัวไม่สามารถเก็บไอน้ำได้มากกว่านี้ หากอุณหภูมิยังคงลดต่ำไปอีก ไอน้ำจะควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว นอกจากปัจจัยทางด้านความดันและอุณหภูมิแล้ว การควบแน่นของไอน้ำยังจำเป็นจะต้องมี “พื้นผิว” ให้หยดน้ำเกาะตัว เช่น เมื่ออุณหภูมิของอากาศบนพื้นผิวลดต่ำกว่าจุดน้ำค้าง ไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นหยดน้ำเล็กๆ เกาะบนใบไม้ใบหญ้าเหนือพื้นดิน บนอากาศก็เช่นกัน ไอน้ำต้องการอนุภาคเล็กๆ ที่แขวนลอยอยู่ในอากาศเป็น “แกนควบแน่น” (Condensation nuclei) แกนควบแน่นเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติในการดูดซับน้ำ (Hygroscopic) ดังเช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้ หรืออนุภาคเกลือ ซึ่งมีขนาดประมาณ 0.0002 มิลลิเมตร หากปราศจากแกนควบแน่นแล้ว ไอน้ำบริสุทธิ์ไม่สามารถควบแน่นเป็นของเหลวได้
 
 
== อ้างอิง ==
<references />>http://sulichaminmin2554.wordpress.com/http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/clound/cloud_precip.htm
 
[[หมวดหมู่:อุณหพลศาสตร์]]