ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การควบแน่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Sirirat aimaerm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
== การควบแน่น ==
'''การควบแน่น''' (condensation) คือ กระบวนการที่[[ก๊าซ]] แปรสภาพเป็น[[ของเหลว]]การควบแน่นนั้น ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็น
การควบแน่น(condensation) คือ กระบวนการที่ก๊าซ แปรสภาพเป็นของเหลวการควบแน่นนั้น ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็น ในการทดลองต่างๆที่เกี่ยวกับการควบแน่น และมักจะปรากฏในชีวิตประจำวัน เช่น การเกิดฝนนั่นเอง การควบแน่นนั้นเป็นปรากฏการณ์ที่ได้ให้เห็นกันบ่อยๆและหยดนำ้น้ำที่เกาะข้างแก้วเป็นการกลั่นตัวแต่ใช้หลักการเดียวกันกับการควบแน่น ส่วนมากปรากฏการนี้จะเกิดจากเมฒคิวมูโลนิมบัส เพราะในตัวของเมฆนั้นจะมีไอน้ำเกาะตัวอยู่เป็นจำนวนมากอุณภูมิภายนอกนั้นสูงเลยทำให้เกิดการควบแน่น
[[ไฟล์:ควบแน่น.jpg|thumbnail|การควบแน่นแบบหยดน้ำ]]
 
== ปฏิกิริยาการควบแน่น ==
ปฏิกิริยาการควบแน่น(condensation reaction)(รู้จักกันในชื่ออื่นว่า dehydration reaction หรือ dehydration synthesis ซึ่งมีความหมายว่ากำจัดน้ำออกไป) เป็น ปฏิกิริยาเคมี ที่ซึ่ง สอง โมเลกุล หรือ กึ่งหนึ่ง (moiety) ทำปฏิกิริยากันและกลายเป็นการเชื่อมต่อแบบ พันธะโควาเลนต์ ซึ่งกันและกันร่วมกับการสูญเสียโมเลกุลของ น้ำ เมทานอล หรือบางตัวของไฮโดรเจนฮาไลด์ เช่น HC l มันอาจถูกพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยาที่ตรงข้ามกับปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส คือการแยกสลายโมเลกุลใหญ่ให้กลายเป็นโมเลกุลเล็กพร้อมทั้งปล่อยน้ำออกมา
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในลักษณะซึ่งโมเลกุลของสารตั้งแต่ 2 โมเลกุลขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเลกุลของน้ำหรือโมเลกุลของสารอื่นออกไป อากาศเย็นมีความสามารถเก็บไอน้ำได้น้อยกว่าอากาศร้อน เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงจุดน้ำค้าง อากาศจะอิ่มตัวไม่สามารถเก็บไอน้ำได้มากกว่านี้ หากอุณหภูมิยังคงลดต่ำไปอีก ไอน้ำจะควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
 
== การเกิดแกนควบแน่น ==
อากาศเย็นมีความสามารถเก็บไอน้ำได้น้อยกว่าอากาศร้อน เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงจุดน้ำค้าง อากาศจะอิ่มตัวไม่สามารถเก็บไอน้ำได้มากกว่านี้ หากอุณหภูมิยังคงลดต่ำไปอีก ไอน้ำจะควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
อย่างไรก็ตามนอกจากปัจจัยทางด้านความดันและอุณหภูมิแล้ว การควบแน่นของไอน้ำยังจำเป็นจะต้องมี “พื้นผิว” ให้หยดน้ำ (Droplet) เกาะตัว ยกตัวอย่างเช่น เมื่ออุณหภูมิของอากาศบนพื้นผิวลดต่ำกว่าจุดน้ำค้าง ไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นหยดน้ำเล็กๆ เกาะบนใบไม้ใบหญ้าเหนือพื้นดิน บนอากาศก็เช่นกัน ไอน้ำต้องการอนุภาคเล็กๆ ที่แขวนลอยอยู่ในอากาศเป็น “แกนควบแน่น” (Condensation nuclei) แกนควบแน่นเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติในการดูดซับน้ำ (Hygroscopic) ดังเช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้ หรืออนุภาคเกลือ ซึ่งมีขนาดประมาณ 0.0002 มิลลิเมตร หากปราศจากแกนควบแน่นแล้ว ไอน้ำบริสุทธิ์ไม่สามารถควบแน่นเป็นของเหลวได้ ถึงแม้จะมีความชื้นสัมพัทธ์มากกว่า 100% ก็ตาม
[[ไฟล์:แกน.jpg|thumbnail|แกนควบแน่น ละอองน้ำในเมฆ และหยดน้ำฝน]]
 
== การเกิดแกนควบแน่นในละอองน้ำในก้อนเมฆทำให้เกิดฝน ==
หยดน้ำหรือละอองน้ำในก้อนเมฆ (Cloud droplet) ที่เกิดขึ้นครั้งแรกมีขนาดเล็กมากเพียง 0.02 มิลลิเมตร (เล็กกว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมซึ่งมีขนาด 0.075 มิลลิเมตร) ละอองน้ำขนาดเล็กตกลงอย่างช้าๆ ด้วยแรงต้านของอากาศ และระเหยกลับเป็นไอน้ำ (ก๊าซ) เมื่ออยู่ใต้ระดับควบแน่นลงมา ไม่ทันตกถึงพื้นโลก อย่างไรก็ตามในกรณีที่มีกลุ่มอากาศยกตัวอย่างรุนแรง หยดน้ำเหล่านี้สามารถรวมตัวกันภายในก้อนเมฆ จนมีขนาดใหญ่ประมาณ 0.05 มิลลิเมตร ถ้าหยดน้ำมีขนาด 2 มิลลิเมตร มันจะมีน้ำหนักมากกว่าแรงพยุงของอากาศ และตกลงมาด้วยแรงโน้มถ่วงของโลกสู่พื้นดินกลายเป็นฝน
 
== อ้างอิง ==
<references />>
http://sulichaminmin2554.wordpress.com/
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/clound/cloud_precip.htm
 
 
 
 
[[หมวดหมู่:อุณหพลศาสตร์]]