ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินัย สวัสดิวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Naruomon (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กระบะทรายผู้ใช้}} <!-- กรุณาทดลองเขียนหรือร่างบทความใต้บรรทัด...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:24, 17 ตุลาคม 2557

This sandbox is in the article namespace. Either move this page into your userspace, or remove the แม่แบบ:Tp template. นายแพทย์วินัย สวัสดิวร เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2522 วิทยาศาสตร์บัณฑิต แพทย์ศาสตร์บัณฑิต (วทบ.พบ.) คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล

พ.ศ. 2529 สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต (สม.) มหาวิทยาลัยมหิดล

พ.ศ. 2528 ประกาศนียบัตรแพทย์ทางระบาดวิทยา Field Epidemiology Training Program (FETP)

พ.ศ. 2529 อนุมัติบัตรเวชศาสตร์ป้องกัน แพทยสภา

ประวัติการทำงาน

พ.ศ. 2523 – พ.ศ. 2526 ผู้อำนวยการ รพ.สมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จ.ยโสธร

พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2533 หัวหน้าฝ่ายเวชกรรมสังคม รพ.มหาสารคาม

พ.ศ. 2533 – พ.ศ.2536 ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2536 ช่วยราชการที่กองสาธารณสุขภูมิภาค

พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2541 นายแพทย์สาธารณสุข จังหวัดยโสธร

พ.ศ. 2541 – พ.ศ. 2543 นายแพทย์สาธารณสุข จังหวัดนครสวรรค์

พ.ศ. 2543 – พ.ศ. 2546 รองอธิบดีกรมการแพทย์

พ.ศ. 2546 – พ.ศ.2551 รองเลขาธิการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ผลงานด้านสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพขณะปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการ สปสช.

พ.ศ. 2551 การบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยง

พ.ศ. 2552 ยกเลิกข้อจำกัดการบริการอุบัติเหตุและเจ็บป่วยฉุกเฉินปีละ 2 ครั้ง

พ.ศ. 2553 การรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะโดยวิธีสลายนิ่ว การรักษาโรคจิต กรณีรับไว้รักษาประเภทผู้ป่วยในเกินกว่า 15 วัน

พ.ศ. 2554 การผ่าตัดปลูกถ่ายตับ (เริ่ม 1 ตุลาคม 2554) การผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจ (เริ่ม 1 ตุลาคม 2554)

พ.ศ. 2556 การคุ้มครองความมั่นคงสิทธิด้านการรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ของพนักงานหรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบุคคลในครอบครัว (เริ่ม 1 ตุลาคม 2556)

ผลงานด้านพัฒนาระบบบริการหลักประกันสุขภาพขณะปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

1) การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ดำเนินการ 2 รูปแบบ

- การพัฒนาระบบริการปฐมภูมิเขตชนบท เน้น สถานีอนามัย และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต)

- การพัฒนาระบบปฐมภูมิเขตเมือง เน้นการลดความแออัดของ รพ.ขนาดใหญ่

2) การพัฒนาระบบบริการตติยภูมิเฉพาะด้าน เช่น

- โรคหัวใจและหลอดเลือด

- โรคมะเร็ง

- โรคหลอดเลือดสมอง

- การพัฒนาระบบบริการเจ็บป่วยฉุกเฉินในโรงพยาบาล

- การพัฒนาบริการทารกแรกเกิด

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชุยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)

โล่เกียรติยศ

พ.ศ. 2551 จากสมาคมศิษย์เก่าศิริราชในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาศิษย์เก่าแพทย์ศิริราชวัยทำงานที่ประสบความสำเร็จในทุกๆด้านมีเกียรติยศ ชื่อเสียงในวงการแพทย์และสาธารณสุข เป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป