ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถิตยศาสตร์ไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chinnasak16041 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
[[File:E esfera maciza.JPG|thumb|สนามไฟฟ้าสถิตที่เกิดจากการกระจายตัวของประจุ (+) ส่วนเกิน]]
'''ไฟฟ้าสถิต''' ({{lang-en|Static electricity หรือ Electrostatics}}) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณ[[ประจุไฟฟ้า]]ขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน และไม่เคลื่อนที่ (จึงเรียกว่า สถิต) จนกระทั้งมีการถ่ายเทประจุ หรือเกิดการไหลของอิเล็คตรอน กลายเป็นไฟฟ้ากระแส ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูดหรือการผลักกัน แต่ไม่เกิดประกายไฟ
== การเกิดไฟฟ้าสถิต ==
การเกิดประจุไฟฟ้าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของผู้คน เพราะว่าเรามักมีการเคลื่อนที่และ
[[File:Static on the playground (48616367).jpg|left|thumb|เด็กในเมืองหนาวจะมีประสพการณ์กับไฟฟ้าสถิตบ่อยแม้ในขณะที่เล่นอยู่ในสนามเด็กเล่น เมื่อเสื้อผ้าของเด็กคนนี้ไปสัมผัสกับเครื่องเล่น ทำให้เกิดประจุไฟฟ้าไม่สมดุลย์หรือไฟฟ้าสถิตที่เครื่องเล่น ดูดผมของเธอให้กระจายออก]]
สัมผัสกับวัตถุต่างๆ เช่น พลาสติกและเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งง่ายต่อการทำให้เกิดประจุไฟฟ้าในยุคเริ่มต้นการค้นพบไฟฟ้าเมื่อประมาณ 60 ปีก่อนพุทธกาลนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ทาลีส พบว่า เมื่อนำอำพันมาถูกับผ้าขนหนูสัตว์ มันสามารถดูดกับวัตถุที่มีน้ำหนักเบาได้ซึ่งอำนาจที่เกิดขึ้นได้ถูกเรียกว่า ไฟฟ้า (electricity) มาจาก elecktron ในภาษากรีก หมายถึง อำพัน ในยุคต่อมา เบนจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) ทดลองโดยการใช้ว่าว ที่มีเชือกและลวดติดขึ้นไปบนฟ้าในวันที่ฝนฟ้าคะนอง ทำให้พิสูจน์ได้ว่ากระแสไฟฟ้าและฟ้าผ่ามีความสัมพันธ์กัน [[File:Benjamin franklin.jpg|thumb|เบนจามิน แฟรงคลิน]]
การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า [[ฉนวนไฟฟ้า|ฉนวน]] ตัวอย่างเช่น [[ยาง]], [[พลาสติก]] และ[[แก้ว]] สำหรับ[[ตัวนำไฟฟ้า|วัสดุประเภทที่นำไฟฟ้า]]นั้นโอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ ประจุที่เกิดการเคลื่อนย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง 2 ชิ้น ผู้ค้นพบคือธาลีส นักปราชญ์ชาวกรีก
วัตถุบางชนิด เช่น พลาสติก เมื่อนำมาขัดถูกับผ้าสักหลาด แล้วสามารถดึงดูดวัตถุเบาๆ เช่น กระดาษเล็กๆ ได้ แรงดึงดูดนี้ไม่ใช่แรงดึงดูดระหว่างมวล เพราะเกิดขึ้นภายหลังจากที่นำวัตถุมาถูกันแล้ว แรงที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า แรงระหว่างประจุไฟฟ้า แรงระหว่างประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะเป็นแรงผลักและแรงระหว่างประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะเป็นแรงดูด
[[File:Lightnings sequence 2 animation.gif|thumb|ฟ้าผ่าเป็นปรากฏการณ์หนึ่งของไฟฟ้าสถิต ประจุบวกหรือประจุลบจะเกิดขึ้นบนก้อนเมฆ และถ้าเมฆนั้นอยู่ใกล้พื้นดิน ประจุนั้นจะถ่ายเทมาที่พื้นดินเสมอ ทุกอาคารสูงจึงต้องมีสายล่อฟ้า เพื่อระบายประจุส่วนเกินลงพื้นดินทำให้ความเสียหายจากฟ้าผ่าน้อยลง ฟ้าผ่าทำให้คนและสัตว์ที่อยู่กลางแจ้งระหว่างฝนฟ้าคะนองเสียชีวิตทุกปี]]
การเหนี่ยวนำประจุไฟฟ้า คือการนำวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเข้าใกล้วัตถุที่เป็นกลางแล้วทำให้วัตถเป็นกลางเกิดประจุชนิดตรงข้ามที่ด้านใกล้และประจุชนิด เดียวกันที่ด้านไกลออกไปและเมื่อนำวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าออกห่างการกระจายตัวของประจุในวัตถุก็จะกลับมาเป็นเช่นเดิม
ไฟฟ้าสถิตเป็น[[ปรากฏการณ์ธรรมชาติ]]ที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำจะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
 
ผู้ค้นพบคือ เบนจามิน แฟรงคลิน ชาวอเมริกัน
โครงสร้างพื้นฐานเกี่ยวกับอะตอม วัตถุชิ้นหนึ่งๆ ประกอบด้วยอะตอมจำนวนมากมาย แต่ละอะตอมประกอบด้วย นิวเคลียส ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน และอนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เรียกว่านิวตรอน และมีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส ซึ่งโดยทั่วไปแล้ววัตถุจะอยู่ในสภาพที่เป็นกลางทางไฟฟ้าคือมีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอเท่ากัน และถ้าวัตถุมีจำนวนอนุภาคทั้งสองไม่เท่ากันจะทำให้วัตถุนั้นมีประจุไฟฟ้าสุทธิไม่เป็นศูนย์ ซึ่งอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเมื่อเสียอิเล็กตรอนจะกลายเป็นอะตอมที่มีประจุบวก ในทางตรงกันข้ามอะตอมใดที่ได้รับอิเล็กตรอนเข้ามาจะกลายเป็นอะตอมที่มีประจุลบ
 
การเกิดฟ้าผ่ากับกระแสไฟฟ้า
เบนจามิน แฟรงคลิน ได้พิสูจน์ไว้ว่าการเกิดฟ้าผ่ามีความสัมพันธ์กับกระแสไฟฟ้า จากที่ได้เคยศึกษาเกี่ยวกับ การเกิดประกายไฟ ซึ่งจะเกิดขึ้นอยู่ระหว่างวัตถุที่มีประจุและวัตถุที่ไม่มีประจุหรือระหว่างที่มีประจุไม่เหมือนกัน และพบว่าประกายไฟมีการกระโดดจากคนสู่วัตถุ ที่เป็นกลางทางไฟฟ้าได้ สายฟ้าเคลื่อนที่จากก้อนเมฆมาสู่พื้นดิน ซึ่งคล้ายกับว่าเกิดประกายไฟฟ้า ที่ยาวมากๆ ฟ้าผ่าเป็นการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
ในการผลิตประกายไฟที่ยาวเช่นนั้นจะต้องมีความต่างศักย์ที่สูงมาก่ระหว่างวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุ
หนึ่ง ในการเกิดฟ้าผ่านั้นความต่างศักย์เกิดขึ้นอาจถึงหนึ่งล้านโวลต์ โดยประจุไฟฟ้าจำนวนมากจะ
เคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในเวลาเสี้ยววินาที การเกิดฟ้าผ่ามักจะเกิดเมื่อมีการเคลื่อนที่อย่ารวดเร็วของอากาศ ในเวลาที่มีพายุ ฝนฟ้าคะนอง ซึ่งการเกิดประจุไฟฟ้าบางทีอาจเกิด จากการ
ขัดสีระหว่างอากาศที่เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว ฟ้าผ่ามีความอันตรายต่อชีวิของมุษย์ เบนจามิน แฟรงคลิน ได้สร้างเครื่องมือ ที่เรียกว่า “สายล่อฟ้า” ซึ่งก่อนที่เขาออกแบบมัน เขาพบว่าวัตถุที่มีปลายแหลมจะมีประจุไฟฟ้ามากและ จะสูญเสียประจุเร็วกว่าแบบกลมเรียบดังนั้น สายล่อฟ้าจึงถูกทำให้เป็นวัตถุที่มีความแหลมมาก ซึ่งจะถูกติดตั้งตรงส่วนบนของบ้านโดยจะต่อ สายไฟเข้ากับสายล่อฟ้าและพื้นดิน ซึ่งเมื่อเกิดฟ้าผ่ามันจะผ่าที่ สายล่อฟ้าไม่ใช่บ้าน ประจุจะเดินทางจาก สายไฟลงดินทำให้บ้านไม่เสียหาย[[File:ฟ้าผ่า.jpg|thumb|ฟ้าผ่า]]
 
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของการเกิดไฟฟ้าสถิตก็คือ ตอนที่เกิดฝนฟ้าคะนอง ไฟฟ้าสถิตจะเกิดเนื่องจากฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ลมตอนบนพัดขึ้นไป เกิดการเสียดสีกันขึ้น เกิดไฟฟ้าสถิตขึ้นบนก้อนเมฆ มีการถ่ายเทประจุจากเมฆก้อนหนึ่ง มายังเมฆอีกก้อนหนึ่ง เราจะเห็นเป็นฟ้าแลบ แต่ถ้าเมฆก้อนนั้นสะสมประจุไว้มากและอยู่ใกล้พื้นดิน จะมีการถ่ายประจุลงมาที่พื้นดิน เราเรียกว่าฟ้าผ่า
==สาเหตุที่ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต==