ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคไวรัสอีโบลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
DessertSweet (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงอ้างอิง
บรรทัด 40:
เจ้าน้าที่การแพทย์ที่ไม่สวมเสื้อผ้าป้องกันที่เหมาะสมอาจสัมผัสเชื้อได้<ref>{{Citation | title = Ebola virus and Marburg virus: Causes | publisher = Mayo Clinic | url = http://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/ebola-virus/basics/causes/con-20031241 | author = Mayo Clinic Staff }}</ref> ในอดีต การแพร่เชื้อที่ได้มาจากโรงพยาบาลเกิดในโรงพยาบาลในทวีปแฟริกาเนื่องจากการใช้เข็มซ้ำและขาดการป้องกันสากล<ref>{{cite book|last1=Lashley|first1=edited by Felissa R.|last2=Durham|first2=Jerry D.|title=Emerging infectious diseases trends and issues|date=2007|publisher=Springer Pub. Co.|location=New York|isbn=9780826103505|page=141|edition=2nd ed.|url=http://books.google.ca/books?id=fsaWlKQ4OjcC&pg=PA141}}</ref>
 
โรคไวรัสอีโบลาไม่แพร่เชื้อผ่านอากาศตามธรรมชาติ<ref name=WHOAir2014>{{cite web | title = 2014 Ebola Virus Disease (EVD) outbreak in West Africa | url = http://www.who.int/ith/updates/20140421/en/ | publisher = WHO | accessdate = 3 August 2014 | date = 21 April 2014 }}</ref> ทว่าไวรัสยังแพร่เชื้อได้เพราะละอองที่สร้างจากห้องปฏิบัติการขนาด 0.8–1.2 ไมโครเมตรที่หายใจเข้าไปได้<ref>{{cite journal | author = Johnson E, Jaax N, White J, Jahrling P | title = Lethal experimental infections of rhesus monkeys by aerosolized Ebola virus | journal = International journal of experimental pathology | volume = 76 | issue = 4 | pages = 227–236 | date = Aug 1995 | pmid = 7547435 | pmc = 1997182 | first4 = P. | issn = 0959-9673 | first2 = N. | first3 = J. }}</ref> เนื่องจากช่องทางติดเชื้อที่เป็นไปได้นี้ ไวรัสเหล่านี้จึงถูกจัดเป็น[[อาวุธชีวภาพ]]หมวดเอ<ref>{{cite journal | author = Leffel EK, Reed DS | title = Marburg and Ebola viruses as aerosol threats | journal = Biosecurity and bioterrorism : biodefense strategy, practice, and science | volume = 2 | issue = 3 | pages = 186–191 | year = 2004 | pmid = 15588056 | doi = 10.1089/bsp.2004.2.186 | issn = 1538-7135 | month = }}</ref> ล่าสุด ไวรัสได้แสดงว่าแพร่จากหมูสู่ไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ได้โดยไม่ต้องสัมผัส<ref name="pmid23155478">{{cite journal | author = Weingartl HM, Embury-Hyatt C, Nfon C, Leung A, Smith G, Kobinger G | title = Transmission of Ebola virus from pigs to non-human primates | journal = Sci Rep | volume = 2 | issue = | pages = 811 | year = 2012 | pmid = 23155478 | pmc = 3498927 | doi = 10.1038/srep00811 }}</ref>
 
ค้างคาวถ่ายเอาผลไม้และเนื้อที่กินแล้วบางส่วนออกมา แล้วสัตว์บกเลี้ยงลูกด้วยนมอย่าง[[กอริลลา]]และไดเคอร์ (duiker) กินผลไม้ที่ตกลงมาเหล่านั้น ลูกโซ่เหตุการณ์นี้ทำให้เกิดวิธีการแพร่เชื้อโดยอ้อมที่เป็นไปได้ผ่านตัวถูกเบียนธรรมชาติสู่ประชากรสัตว์ ซึ่งนำไปสู่การวิจัยสู่การกำจัดไวรัสในน้ำลายของค้างคาว การผลิตผลไม้ พฤติกรรมของสัตว์ และปัจจัยอื่นที่ต่างกันไปในแต่ละเวลาและสถานที่อาจกระตุ้นให้เกิดการระบาดในหมู่ประชากรสัตว์<ref>{{cite journal | author = Gonzalez JP, Pourrut X, Leroy E | title = Ebolavirus and other filoviruses | journal = Current topics in microbiology and immunology | volume = 315 | pages = 363–387 | year = 2007 | pmid = 17848072 | doi = 10.1007/978-3-540-70962-6_15 | isbn = 978-3-540-70961-9 | series = Current Topics in Microbiology and Immunology }}</ref>