ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาสันสกฤต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
}}
 
'''ภาษาสันสกฤต''' เป็นภาษาที่รับอิทธอพลอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สันสกฤต : संस्कृता वाक्, สํสฺกฤตา วากฺ; {{lang-en|Sanskrit}}) เป็น[[ภาษา]]ที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งใน[[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] (หรืออินเดีย-ยุโรป) [[ภาษากลุ่มอินโด-อิเรเนียน|สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน]] (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ใน[[ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน|กลุ่มย่อยอินโด-อารยัน]] (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับ[[ภาษาละติน]]และ[[ภาษากรีก]] เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดใน[[ประเทศอินเดีย]] โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ ๆ ขึ้นมาด้วย ใน[[ศาสนาฮินดู]]เชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่า[[ฤษี]]ทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรรพ์
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 69:
ภาษาสันสกฤตและบาลีมีเผยแพร่ในประเทศไทยมาช้านานแล้ว แต่ส่วนใหญ่จำกัดผู้เล่าเรียนอยู่แต่ในวัดและในวังเท่านั้น เมื่อมีการตั้งมหาวิทยาลัยก็มีคณาจารย์หลายคนสอนสันสกฤต ทั้งเป็นส่วนตัวและระดับมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นรากฐานให้เกิดการศึกษาภาษาสันสกฤตอย่างแพร่หลายยิ่งขึ้น มีนักภาษาสันสกฤต หรือนักสันสกฤตที่มีชื่อเสียงชาวไทยและชาวอินเดียที่นำสันสกฤตมาปักหลักสอนในประเทศไทย มีการสอนภาษาสันสกฤตในระดับปริญญาตรีและโทที่[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอกที่[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] รวมถึงได้มีการก่อตั้ง [[ศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร|ศูนย์สันสกฤตศึกษา]]ขึ้นที่มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
นักวิชาการที่สอนภาษาสันสกฤตและ[[วรรณคดี]][[สันสกฤต]]ระดับมหาวิทยาลัยในอดีตและปัจจุบันถือว่ายังน้อยมากในประเทศไทย
 
== อ้างอิง ==