ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริภูมิ-เวลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ในทางวิชา[[ฟิสิกส์]], '''ปริภูมิ-เวลา''' (space time) (นอกจากนี้ยังอาจเรียกว่า '''กาล-อวกาศ''' (space–time) '''กาลอวกาศ''' (space time) หรือ '''กาล-อวกาศที่ต่อเนื่อง''' (space–time continuum) อีกด้วย) เป็น[[แบบจำลองทางคณิตศาสตร์]]ใด ๆ ที่รวมเอาพื้นที่ หรือ [[ปริภูมิ]] (space) และ [[เวลา]] (time) ในการผสมผสานให้มีความต่อเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวเข้าด้วยกัน กาลอวกาศของเป็น[[เอกภพความต่อเนื่อง]]ของเราประสานเดียว ปริภูมิ-เวลาซึ่งกล่าวถึงกันนั้นมักจะมีการปกติตีความจากมุมมอง[[ปริภูมิแบบยุคลิด]] (Euclidean space), ซึ่งถือว่าเป็นปริภูมิที่ประกอบด้วยสามมิติ และเวลาอีกประกอบด้วยหนึ่งมิติ ที่ถือว่าเป็นคือ '[["มิติที่สี่]]' (fourth dimension)" โดยการรวมอวกาศปริภูมิและเวลาลงเข้าไปใน[[แมนิโฟลด์]] (manifold) เดียวที่เรียกว่า [[อวกาศปริภูมิแบบมินคอฟสกีนคอว์สกี]] (Minkowski space) นักฟิสิกส์ได้ทำให้จำนวนที่มีขนาดใหญ่ในทฤษฎีทางฟิสิกส์ให้อยู่ในรูปแบบที่ดูเรียบจำนวนมากง่ายขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตลอดจนอธิบายการทำงานของเอกภพทั้งระดับใหญ่กว่าดาราจักรและเล็กกว่าอะตอมได้เป็นรูปแบบเดียวกันมากขึ้น
 
 
 
 
[[หมวดหมู่:กาล-อวกาศ]]