ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง''' ({{lang-en|borderline personality disorder, ย่อ: BPD}})...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox disease|
'''ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง''' ({{lang-en|borderline personality disorder, ย่อ: BPD}}) หรือเรียก '''ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบอารมณ์ไม่คงที่''', '''ความผิดปกติทางอารมณ์แรงจัด''', หรือ'''ประเภทก้ำกึ่ง'''ใน ICD-10 เป็นความผิดปกติทางบุคลิกภาพกลุ่มบี (cluster-B) ลักษณะสำคัญของความผิดปกตินี้ คือ รูปแบบหุนหัน (impulsivity) และอารมณ์แสดงออก ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและภาพลักษณ์ตน (self image) ไม่มั่นคงอย่างชัดเจน รูปแบบนี้ปรากฏเมื่อวัยผู้ใหญ่ตอนต้นและเกิดขึ้นผ่านสถานการณ์และบริบทต่าง ๆ
| Name = ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง<br />(Borderline personality disorder)
| ICD10 = {{ICD10|F|60|3|f|60}}
| ICD9 = {{ICD9|301.83}}
| MeshID = D001883 |
| ICDO =
| OMIM =
| OMIM_mult =
| MedlinePlus = 000935
| eMedicineSubj = article
| eMedicineTopic = 913575
| eMedicine_mult =
}}
'''ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง''' ({{lang-en|borderline personality disorder, ย่อ: BPD}}) หรือเรียก '''ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบอารมณ์ไม่คงที่''', '''ความผิดปกติทางอารมณ์แรงจัด''', หรือ'''ประเภทก้ำกึ่ง'''ใน ICD-10 เป็นความผิดปกติทางบุคลิกภาพกลุ่มบี (cluster-B) ลักษณะสำคัญของความผิดปกตินี้ คือ รูปแบบหุนหัน (impulsivity) และอารมณ์แสดงออก ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและภาพลักษณ์ตน (self image) ไม่มั่นคงอย่างชัดเจน รูปแบบนี้ปรากฏเมื่อวัยผู้ใหญ่ตอนต้นและเกิดขึ้นผ่านสถานการณ์และบริบทต่าง ๆ<ref name="DSM-5-borderline">{{harvnb|American Psychiatric Association|2013|page=645}}</ref>
 
อาการอื่นปกติมีความกลัวการทอดทิ้งอย่างรุนแรงและความโกรธและหงุดหงิดรุนแรง โดยผู้อื่นเข้าใจเหตุผลแห่งความรู้สึกดังกล่าวยาก<ref name="DSM-5-borderline"/><ref name="DSM-IV-TR">{{harvnb|American Psychiatric Association|2000}}{{Page needed|date=July 2013}}</ref> ผู้ที่เป็น BPD มักสร้างอุดมคติและลดคุณค่า (idealization and devaluation) ผู้อื่น สลับกันระหว่างความเคารพอย่างสูงและความผิดหวังใหญ่หลวง<ref>{{harvnb|Linehan|1993|page=146}}</ref> พบพฤติกรรมทำร้ายตัวเองและฆ่าตัวตายทั่วไป<ref name = BPD_fact_sheet/>
 
[[คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต]]รับรองความผิดปกตินี้ เพราะความผิดปกติทางบุคลิกภาพคือรูปแบบประสบการณ์ภายในไม่พึงประสงค์และพฤติกรรมพยาธิวิทยาซึ่งแพร่หลาย คงอยู่และไม่ยืดหยุ่น จึงมีความไม่เต็มใจทั่วไปที่จะวินิจฉัยความผิดปกติทางบุคลิกภาพก่อนวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น<ref name="DSM-5-general personality disorder">{{harvnb|American Psychiatric Association|2013|pages=646–9}}</ref> ทว่า บางคนย้ำว่า อาการอาจเลวลงหากไม่รักษาแต่เนิ่น<ref>{{Harvnb|Linehan|Comtois|Murray|Brown|2006|pp=757–66}}</ref>
 
กำลังมีการถกเถียงเกี่ยวกับศัพทวิทยาของความผิดปกตินี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเหมาะสมของคำว่า "ก้ำกึ่ง"<ref>{{Cite web|url=http://www.borderlinepersonalitytoday.com/main/name_change.htm|title=Borderline Personality Disorder: Proposal to include a supplementary name in the DSM-IV text revision|publisher=Borderline Personality Today|accessdate=8 February 2010}}</ref><ref name="mayo" /> คู่มือ ICD-10 เรียกความผิดปกตินี้ว่า ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบอารมณ์ไม่คงที่และเกณฑ์การวินิจฉัยคล้ายกัน ใน DSM-5 ชื่อของความผิดปกตินี้ยังคงเหมือนกับฉบับก่อน ๆ<ref name="DSM-5-general personality disorder" />
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ]]