ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox civilian attack
'''เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555''' เป็นชุดข้อพิพาทที่ดำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์[[ชาวยะไข่|ยะไข่]]พุทธและมุสลิม[[โรฮิงยา]]ทางตอนเหนือของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์เริ่มตกเป็นเป้า<ref name=BBC2710>{{cite web |url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-20110150 |title=Burma admits Rakhine destruction |date=27 October 2012 |publisher=BBC News |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9MIA1a |accessdate=27 October 2012}}</ref><ref name=G2710>{{cite web |url=http://www.guardian.co.uk/world/2012/oct/27/burma-wave-anti-muslim-violence# |title=Burma's leader admits deadly attacks on Muslims |author=Peter Beaumont |date=27 October 2012 |work=The Guardian |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6BjNR0bEQ |accessdate=27 October 2012}}</ref> เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่<ref>{{cite news | url=http://www.reuters.com/article/2012/06/08/us-myanmar-violence-idUSBRE85714E20120608 | title=Four killed as Rohingya Muslims riot in Myanmar: government | agency=Reuters | date=8 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าสนองโดยกำหนด[[การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน]] และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่<ref>{{cite web | url=http://burma.irrawaddy.org/archives/11901 | title=အေရးေပၚအေျခအေန ေၾကညာခ်က္ ႏုိင္ငံေရးသမားမ်ား ေထာက္ခံ | publisher=The Irrawaddy | date=11 June 2012 | accessdate=11 June 2012 | author=Linn Htet}}</ref><ref>{{Cite news | first = Fergal | last= Keane | authorlink= Fergal Keane| title = Old tensions bubble in Burma| url = http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18402678| publisher = [[BBC News Online]]| date = 11 June 2012| accessdate = 11 June 2012}}</ref> ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน<ref name="mofa.gov.mm">{{cite web|format=PDF |url=http://www.mofa.gov.mm/pressrelease/Press_Release_Rakhine_State_Affairs_Webversion%2821-08-12%29.pdf |title=Press Release |date=21 August 2012 |publisher=Government of the Republic of the Union of Myanmar Ministry of Foreign Affairs |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9aSWM5 |accessdate=27 October 2012}}</ref> ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว<ref>{{cite news|title=Burma’s ethnic clashes leave 90,000 in need of food, says UN|url=http://www.thestar.com/news/world/article/1213585--burma-s-ethnic-clashes-leave-90-000-in-need-of-food-says-un|accessdate=16 July 2012|newspaper=[[Toronto Star]]|date=19 June 2012}}</ref><ref name=displaced>{{cite news|title=Burma unrest: Rakhine violence 'displaces 30,000'|work=BBC News|date=14 June 2012|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18449264|accessdate=14 June 2012}}</ref> มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่<ref>{{cite news| url=http://www.google.com/hostednews/ap/article/ALeqM5iNgy-B1h5qAfy0mlidJESbqDF6aA?docId=88ce24b723ee4aeb87f960a9a1eb4129 | title=Both ethnic groups suffered in Myanmar clashes | agency=Associated Press | date=15 Jun 2012 | accessdate=16 June 2012}}</ref> กองทัพและตำรวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา<ref name="dvb_hindstorm">{{cite news|last=Hindstorm|first=Hanna|title=Burmese authorities targeting Rohingyas, UK parliament told|url=http://www.dvb.no/news/burmese-authorities-targeting-rohingyas-uk-parliament-told/22676|accessdate=9 July 2012|date=28 June 2012|agency=[[Democratic Voice of Burma]]}}</ref>
|title =เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555
|partof =[[การกบฏโรฮิงยาในพม่าตะวันตก|ความขัดแย้งเกี่ยวกับโรฮิงยาในพม่าตะวันตก]]
|image =
|image_size =
|alt =
|caption =
|map =
|map_size =
|map_alt =
|map_caption =
|location =[[รัฐยะไข่]] พม่า
|target =
|coordinates =
|date ={{start date|2012|06|8|df=yes}}
|time =
|timezone =[[UTC+06:30]]
|type =ความขัดแย้งระหว่างศาสนา
|fatalities =มิถุนายน: 88 คน<ref name="mofa.gov.mm">{{cite web|format=PDF |url=http://www.mofa.gov.mm/pressrelease/Press_Release_Rakhine_State_Affairs_Webversion%2821-08-12%29.pdf |title=Press Release |date=21 August 2012 |publisher=Government of the Republic of the Union of Myanmar Ministry of Foreign Affairs |deadurl=no |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9aSWM5 |accessdate=27 October 2012}}</ref><ref>{{cite news |url=http://www.guardian.co.uk/world/feedarticle/10397457 |title=Myanmar sets up internal probe of sectarian unrest |date=17 August 2012 |work=[[The Guardian]] |archivedate=27 October 2012|deadurl=no |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9eBiGA |accessdate=27 October 2012 |location=London}}</ref><ref>{{cite web |url=http://news.xinhuanet.com/english/world/2012-08/22/c_131800457.htm |title=Myanmar gov't refutes accusations of religious persecution, discrimination in Rakhine incident |date=27 October 2012 |publisher=Xinhua |deadurl=no|archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9iVpM9 |accessdate=27 October 2012}}</ref><br>ตุลาคม: อย่างน้อย 80 คน<ref name=BBC2810 /><br>ไม่มีที่อยู่อาศัย 100,000 คน<ref name=BBC2810 />
|injuries =
|victim =
|perps =
|perp =
|perpetrators=
|perpetrator =
|susperps =
|susperp =
|weapons =
|numparts =
|numpart =
|dfens =
|dfen =
|footage =
|motive =
}}
'''เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555''' เป็นชุดข้อเหตุการณ์พิพาทที่ดำลังกำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์ชาว[[ชาวยะไข่|ยะไข่]]พุทธและมุสลิม[[โรฮิงยา]]ทางตอนเหนือของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์ในพม่าเริ่มตกเป็นเป้า<ref name=BBC2710>{{cite web |url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-20110150 |title=Burma admits Rakhine destruction |date=27 October 2012 |publisher=BBC News |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9MIA1a |accessdate=27 October 2012}}</ref><ref name=G2710>{{cite web |url=http://www.guardian.co.uk/world/2012/oct/27/burma-wave-anti-muslim-violence# |title=Burma's leader admits deadly attacks on Muslims |author=Peter Beaumont |date=27 October 2012 |work=The Guardian |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6BjNR0bEQ |accessdate=27 October 2012}}</ref> เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่<ref>{{cite news | url=http://www.reuters.com/article/2012/06/08/us-myanmar-violence-idUSBRE85714E20120608 | title=Four killed as Rohingya Muslims riot in Myanmar: government | agency=Reuters | date=8 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดแน่นอนยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ชาวยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังเกิดการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าตอบสนองโดยกำหนด[[การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน]] และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่<ref>{{cite web | url=http://burma.irrawaddy.org/archives/11901 | title=အေရးေပၚအေျခအေန ေၾကညာခ်က္ ႏုိင္ငံေရးသမားမ်ား ေထာက္ခံ | publisher=The Irrawaddy | date=11 June 2012 | accessdate=11 June 2012 | author=Linn Htet}}</ref><ref>{{Cite news | first = Fergal | last= Keane | authorlink= Fergal Keane| title = Old tensions bubble in Burma| url = http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18402678| publisher = [[BBC News Online]]| date = 11 June 2012| accessdate = 11 June 2012}}</ref> ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน<ref name="mofa.gov.mm">{{cite web|format=PDF |url=http://www.mofa.gov.mm/pressrelease/Press_Release_Rakhine_State_Affairs_Webversion%2821-08-12%29.pdf |title=Press Release |date=21 August 2012 |publisher=Government of the Republic of the Union of Myanmar Ministry of Foreign Affairs |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9aSWM5 |accessdate=27 October 2012}}</ref> ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว<ref>{{cite news|title=Burma’s ethnic clashes leave 90,000 in need of food, says UN|url=http://www.thestar.com/news/world/article/1213585--burma-s-ethnic-clashes-leave-90-000-in-need-of-food-says-un|accessdate=16 July 2012|newspaper=[[Toronto Star]]|date=19 June 2012}}</ref><ref name=displaced>{{cite news|title=Burma unrest: Rakhine violence 'displaces 30,000'|work=BBC News|date=14 June 2012|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18449264|accessdate=14 June 2012}}</ref> มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่<ref>{{cite news| url=http://www.google.com/hostednews/ap/article/ALeqM5iNgy-B1h5qAfy0mlidJESbqDF6aA?docId=88ce24b723ee4aeb87f960a9a1eb4129 | title=Both ethnic groups suffered in Myanmar clashes | agency=Associated Press | date=15 Jun 2012 | accessdate=16 June 2012}}</ref> กองทัพและตำรวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และใช้ความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา<ref name="dvb_hindstorm">{{cite news|last=Hindstorm|first=Hanna|title=Burmese authorities targeting Rohingyas, UK parliament told|url=http://www.dvb.no/news/burmese-authorities-targeting-rohingyas-uk-parliament-told/22676|accessdate=9 July 2012|date=28 June 2012|agency=[[Democratic Voice of Burma]]}}</ref>
 
การต่อสู้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 64 คน และบ้านเรือนหลายพันหลังถูกทำลาย
 
== ภูมิหลัง ==
== ความเป็นมา ==
เหตุปะทะระหว่างสองชาติพันธุ์มีการขัดแย้งเกิดขึ้นอยู่เป็นช่วงๆ อยู่หลายครั้ง โดยมากเป็นการปะทะประจำในยะไข่ระหว่างชนส่วนใหญ่ที่เป็นชาวพุทธยะไข่ซึ่งเป็นคนส่วนมากนับถือศาสนาพุทธกับชาวมุสลิมโรฮิงยาชนกลุ่มน้อยที่เป็นมุสลิมโรฮิงญาซึ่งรัฐบาลพม่านับชาวโรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นผู้อพยพ จึงไม่มีสิทธิที่จะเป็นพลเมืองของประเทศ นักประวัติศาสตร์หลายคนบอกว่าชาวโรฮิงยานี้อยู่ที่นี่มาหลายศตวรรษแล้ว ในขณะที่นักประวัติศาสตร์อีกส่วนบอกว่าชาวโรฮิงยาเพิ่งปรากฏในแถบนี้ในช่วงศตวรรษที่ 19 เท่านั้น สหประชาชาตินับกลุ่มชาติพันธุ์โรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นหนึ่งในชนกลุ่มน้อยที่ถูกกดขี่มากที่สุดในโลก นอกจากนี้ รองผู้อำนวยการแผนกเอเชียของฮิวแมนไรท์วอทช์ อีเลน เพียร์สัน ยังออกมากล่าวว่า "หลังจากหลายปีแห่งการกดขี่ ข่งเหง รังแก วันหนึ่งฟองสบู่นั้นจะแตกออก และนั่นคือสิ่งที่เรากำลังเห็นในขณะนี้"<ref>{{cite news| url=http://www.reuters.com/article/2012/06/11/uk-myanmar-violence-idUSLNE85A01C20120611 | title=Muslim, Buddhist mob violence threatens new Myanmar image | agency=Reuters | date=11 Jun 2012 | accessdate=12 June 2012}}</ref>
 
ในเย็นของวันที่ [[28 พฤษภาคม]] กลุ่มมุสลิมสามคน ซึ่งมีชาวโรฮิงยาสองคนอยู่ในนั้น ได้ทำการปล้นฆ่าข่มขืนหญิงชาวยะไข่ชื่อ Maมา Thidaทิดา ทเว Htwe ต่อมาตำรวจได้เข้าจับกุมผู้ต้องสงสัยทั้งสามแล้วส่งไปยังเรือนจำของเมืองยานบาย<ref>{{cite web| url=http://www.unhcr.org/refworld/country,,ICG,,IDN,,4fd85cdd2,0.html | title=Myanmar Conflict Alert: Preventing communal bloodshed and building better relations | publisher= International Crisis Group (ICG) | date=12 June 2012 | accessdate=29 September 2012 }}</ref> ในวันที่ 3 มิถุนายน<ref>{{cite web|url=http://elevenmyanmar.com/national/crime/241-30-arrested-for-killing-10-aboard-toungup-bus |title=30 arrested for killing 10 aboard Toungup bus |publisher=Elevenmyanmar.com |date=2012-07-05 |accessdate=2012-10-27}}</ref> ผู้ประท้วงได้ทำการโจมตีรถบัสคันหนึ่งเนื่องจากเชื่อว่าผู้ต้องสงสัยทั้งสามนั้นอยู่ในรถบัสนั้น<ref name="BBC relocate">{{cite web | url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18392262 | title=UN decides to relocate staff from Myanmar's Rakhine state |publisher=BBC | date=11 June 2012 | accessdate=11 June 2012}}</ref> ผลจากเหตุการณ์นั้นได้ทำให้ชาวมุสลิม 10 คนเสียชีวิต<ref name="BBC 1">{{cite web | url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18368556 | title=Burma police clash with Muslim protesters in Maung Daw |publisher=BBC | date=9 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> ซึ่งเป็นผลให้เกิดการประท้วงจากกลุ่มมุสลิมชาวพม่าในย่างกุ้ง รัฐบาลตอบสนองโดยการตั้งรัฐมนตรีและผู้บัญชาการตำรวจอาวุโสเพื่อเป็นผู้นำในการสืบสวนเพื่อสืบหาสาเหตุและการยั่วยุที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์และดำเนินการทางกฎหมายต่อไป<ref>{{cite news | url=http://news.asiaone.com/News/AsiaOne%2BNews/Asia/Story/A1Story20120608-351252.html | title=Myanmar to probe Muslim deaths | agency=Reuters | date=8 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> ซึ่งนับถึงวันที่ 2 กรกฎาคม มีผู้ถูกจับไปแล้ว 30 คนเนื่องจากการฆ่าชาวมุสลิมทั้งสิบนี้<ref>{{cite news | url=http://www.reuters.com/article/2012/07/02/us-myanmar-violence-idUSBRE8610CE20120702 | title=Myanmar arrests 30 over killing of 10 Muslims | agency=Reuters | date=2 July 2012 | accessdate=15 July 2012}}</ref>
 
== เหตุจลาจลในเดือนมิถุนายน ==
ในเดือนนี้มีการโจมตีของชาวพุทธยะไข่และชาวมุสลิมโรฮิงญาหลายครั้งดังนี้<ref name=NDTV>{{cite news|title=Muslim, Buddhist mob violence threatens new Myanmar image|url=http://www.ndtv.com/article/world/muslim-buddhist-mob-violence-threatens-new-myanmar-image-229807|date=11 June 2012|publisher=[[NDTV]]}}</ref>
=== 8 มิถุนายน การโจมตีเริ่มต้น ===
มีการประท้วงของชาวโรฮิงญากลุ่มใหญ่ เผาบ้านและทำลายโทรศัพท์<ref name="11-2">{{cite web | url=http://eversion.news-eleven.com/index.php?option=com_content&view=article&id=575:curfew-imposed-in-rakhine-township-amidst-rohingya-terrorist-attacks&catid=42:weekly-eleven-news&Itemid=109 | title=Curfew imposed in Rakhine township amidst Rohingya terrorist attacks | publisher=Eleven Media Group | date=8 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> ในตอนเย็นเจ้าหน้าที่ไปป้องกันบ้านไว้ได้ 14 หลัง และยิงปืนเตือนเข้าไปในกลุ่มชน ในวันรุ่งขึ้น รัฐบาลได้ประกาศกฎอัยการศึกในหม่องเด่า ห้ามมิให้รวมกลุ่มกันเกินกว่า 5 คนในที่สาธารณะ และมีผู้เสียชีวิตในวันนี้ 5 คน<ref name="President">{{cite web | url=http://www.president-office.gov.mm/briefing-room/daily-news/news667 | title=ရခိုင်ပြည်နယ် မောင်တောမြို့၌ ဆူပူအကြမ်းဖက်မှုများ ဖြစ်ပွား ဒေသရပ်ရွာတည်ငြိမ်အေးချမ်းမှု ရရှိစေရေး အတွက် ပုဒ်မ (၁၄၄) ထုတ်ပြန်၍ ထိန်းသိမ်းဆောင်ရွက်လျက်ရှိ | publisher=Presidential Office of Myanmar | date=8 June 2012 | accessdate=11 June 2012}}</ref>
=== 9 มิถุนายน ความรุนแรงขยายตัว ===
 
ตอนเช้าของวันที่ 9 มิถุนายน รัฐบาลส่งกองกำลังติดอาวุธเข้าไปเพิ่มเติม และสร้างค่ายผู้ลี้ภัยให้ผู้ที่บ้านเรือนถูกเผา แม้ว่าจะเพิ่มการรักษาความปลอดภัยแต่ความขัดแย้งได้ขยายวงกว้างออกไป มีความพยายามก่อเหตุร้ายในหม่องเด่าแต่ระงับเหตุไว้ได้ เกิดความรุนแรงขึ้นอีก มีผู้เสียชีวิต 7 คน ร้านค้า 17 แห่งและบ้านมากกว่า 494 หลังถูกเผาในวันนี้<ref name="11-3">{{cite web | url=http://news-eleven.com/index.php?option=com_content&view=article&id=14026&Itemid=112 | title=ဖစ္ပြားျပီးေနာက္ရက္၌ အေျခအေနမ်ားကို သက္ဆိုင္ရာက ထိန္းခ်ဳပ္ႏိုင္ျပီ ျဖစ္ေၾကာင္းသိရ | publisher=Eleven Media Group | date=10 June 2012 | accessdate=11 June 2012}}</ref>
 
=== 10 มิถุนายน การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ===
ในวันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วยะไข่<ref name="BBC emergency">{{cite news|title=Q&A: Unrest in Burma's Rakhine state|publisher=BBC News|date=11 June 2012|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18395788|accessdate=11 June 2012}}</ref> เพื่อตอบสนองต่อความวุ่นวายและการก่อการร้าย ในวันนี้เอง ชาวโรฮิงญาได้กล่าวว่ามีเด็กหญิงอายุ 12 ปี ออกไปที่ร้านค้าและถูกตำรวจยิงเสียชีวิต ชาวยะไข่ได้เผาบ้านเรือนของชาวโรฮิงญาในหมู่บ้านโบห์มู<ref>{{cite web | url=http://news-eleven.com/index.php?option=com_content&view=article&id=14050:2012-06-11-02-55-50&catid=42:2009-11-10-07-36-59&Itemid=112 | title=ရခိုင္ၿပည္နယ္ အေၿခအေနႏွင့္ ပတ္သက္ၿပီး ဇြန္လ ၁၀ ရက္ေန႔ ေနာက္ဆံုးရသတင္းမ်ား | publisher=Eleven Media Group | date=10 June 2012 | accessdate=12 June 2012}}</ref> ประชาชนมากกว่า 5,000 คนต้องไปอยู่ที่ค่ายอพยพ<ref>{{cite web | url=http://www.bbc.co.uk/burmese/burma/2012/06/120610_rakhine_latest.shtml | title=ရခိုင်၊ ဗမာ၊ သက် ဒုက္ခသည် ငါးထောင်ကျော် |publisher=BBC | date=10 June 2012 | accessdate=12 June 2012}}</ref> และมีผู้อพยพจำนวนมากลี้ภัยไปยังชิตตเว
 
== อ้างอิง ==