ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมขลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
thumb|350px|''นางมณีเมขลา'' ขณะเหาะลงมาช่วย[[พระมหาชนก ภาพจากวัดหน่อพุทธางกูร จังหวัดส
thumb|350px|''นางมณีเมขลา'' ขณะเหาะลงมาช่วย[[พระมหาชนก ภาพจากวัดหน่อพุทธางกูร จังหวัดส
บรรทัด 48:
|เลียบรอบขอบทวีป|อยู่กลางกลีบเมฆา
|เชยชมยมนา|เฝ้ารักษาสินธุ}}
== คติวามเชื่อและการบูชาในปัจจุบัน==
อารยธรรมไทยที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานของการเกษตร คติการบูชาเทพแห่งฝนและน้ำโดยตรง มาจากอินเดีย คือพระวรุณหรือพระพิรุณ ดังมีหลักฐานปรากฏตามโบราณสถานต่างๆ ในสมัยนั้นโดยเน้นการเป็นเทพประจำทิศ จึงน่าจะได้รับคติการบูชา พระมณีเมขลา หรือ พระมณีเมกไล จากอินเดียใต้เข้ามาด้วย มณีเมขลา ใกล้ชิดกับคนไทยมากกว่าพระวรุณ เพราะเป็นเทวนารีปรากฎในพุทธศาสนา และมีบทบาทสำคัญยิ่ง คือเป็นเทวดาที่ทำให้การบำเพ็ญวิริยบารมีของพระมหาชนกสัมฤทธิ์ผลเป็นที่ประจักษ์ คนในอดีตรู้จักพระมณีเมขลา ทั้งในมหาชนกชาดก และทั้งเป็นเทวีแห่งความอุดมสมบูรณ์ จนแม้ต่อมาจะเหลือแต่นิทานเรื่องเมขลา-รามสูรตามชนบทไกลๆ เวลาฝนแล้ง เมื่อหลายสิบปีมาแล้วยังมีการเอารูปภาพเมขลาล่อแก้วมาตั้งบูชาเพื่อขอฝน แต่ดูเหมือนจะในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์นี้เอง ที่นิทานเมขลา-รามสูร ถูกปัญญาชนผู้รู้หนังสือกำหนดให้เป็นเพียงนิทานอย่างแท้จริง แล้วคนไทยทุกระดับเมื่อจะบูชาเทพ-เทวีแห่งน้ำ ก็หันไปบูชาพระแม่คงคาของอินเดีย
เฉพาะกรณีพระวรุณ เทวศาสตร์ไทยยังคงรักษาคติการบูชาพระวรุณ ในประติมานวิทยาของพระพิรุณทรงนาคจนถึงปัจจุบันนี้ ส่วนพระมณีเมขลา ก็ดังที่ได้กล่าวแล้วว่ายังมีการบูชาหลงเหลืออยู่ในชนบทไกลๆ และในตำราของทางราชสำนัก ปรากฎชื่อในการออกนามเพื่อร่วมเป็นสักขีพยานแต่เพียงเท่นั้น
 
== เมขลาในประเทศต่าง ๆ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เมขลา"