ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สื่อที่มนุษย์สามารถอ่านได้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
 
องค์การหลายองค์การได้กำหนดนิยามข้อมูลที่มนุษย์สามารถอ่านได้กับข้อมูลที่เครื่องสามารถอ่านได้ และวิธีการที่จะนำมาใช้ในสาขาที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร เช่น [[สหภาพไปรษณีย์สากล]] <ref>{{cite web|url=http://www.upu.int/document/2005/an/cep_gn_ep_4-1/src/d011_ad00_an09_p00_r00.doc|title=OCR and Human readable representation of data on postal items, labels and forms|publisher=Universal Postal Union}}</ref>
 
บ่อยครั้งที่ศัพท์ ''มนุษย์สามารถอ่านได้'' นำไปใช้อธิบายถึงชื่อหรือสายอักขระขนาดสั้น ที่ง่ายต่อการเข้าใจและการจดจำมากกว่าสัญกรณ์วากยสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและขนาดยาว เช่น สายอักขระ[[ยูอาร์แอล]] (URL) <ref>{{cite web
|url=http://plone.org/products/plone/features/3.0/existing-features/human-readable-urls
|title=Human-readable URLs
|publisher=Plone Foundation
|accessdate=2009-10-01
}}</ref>
 
== อ้างอิง ==