ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันโลหิตสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 80:
=== ความดันโลหิตสูงแบบปฐมภูมิ ===
{{บทความหลัก|ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ}}
ความดันโลหิตสูงแบบปฐมภูมิ (primary hypertension) หรือความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (essential hypertension) เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด ประมาณร้อยละ 90-95 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด<ref name="pmid10645931"/> ในสภาพสังคมปัจจุบันพบว่าความดันเลือดเพิ่มขึ้นตามอายุ และความเสี่ยงของการเป็นความดันโลหิตสูงในวัยสูงอายุนั้นสูง<ref>{{cite journal|last=Vasan|first=RS|coauthors=Beiser, A, Seshadri, S, Larson, MG, Kannel, WB, D'Agostino, RB, Levy, D|title=Residual lifetime risk for developing hypertension in middle-aged women and men: The Framingham Heart Study|journal=JAMA: the Journal of the American Medical Association|date=2002-02-27|volume=287|issue=8|pages=1003–10|pmid=11866648|doi=10.1001/jama.287.8.1003}}</ref> ความดันโลหิตสูงเป็นผลจากความสัมพันธ์ซับซ้อนระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม มีการศึกษาพบ[[ยีน]]หลายชนิดที่มีผลเล็กน้อยต่อความดันโลหิต<ref name="pmid21909115">{{cite journal |author=Ehret GB |title=Genetic variants in novel pathways influence blood pressure and cardiovascular disease risk |journal=Nature |volume=478 |issue=7367 |pages=103–9 |year=2011 |month=October |pmid=21909115 |doi=10.1038/nature10405 |author-separator=, |author2=Munroe PB |author3=Rice KM |display-authors=3 |last4=Bochud |first4=Murielle |last5=Johnson |first5=Andrew D. |last6=Chasman |first6=Daniel I. |last7=Smith |first7=Albert V. |last8=Tobin |first8=Martin D. |last9=Verwoert |first9=Germaine C. |pmc=3340926}}</ref> และมียีนจำนวนน้อยมากที่มีผลอย่างมากต่อความดันโลหิต<ref>{{cite journal|last=Lifton|first=RP|coauthors=Gharavi, AG, Geller, DS|title=Molecular mechanisms of human hypertension|journal=Cell|date=2001-02-23|volume=104|issue=4|pages=545–56|pmid=11239411|doi=10.1016/S0092-8674 (01) 00241-0}}</ref> แต่สุดท้ายปัจจัยด้านพันธุกรรมต่อความดันโลหิตสูงยังไม่เป็นที่เข้าใจกันมากนักในปัจจุบัน ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่มีผลต่อความดันเลือด พฤติกรรมที่ช่วยลดความดันโลหิตอย่างชัดเจน อาทิ การลดการบริโภค[[เกลือ]]<ref>{{cite journal|last=He|first=FJ|coauthors=MacGregor, GA|title=A comprehensive review on salt and health and current experience of worldwide salt reduction programmes|journal=Journal of Human Hypertension|date=June 2009|volume=23|issue=6|pages=363–84|pmid=19110538|doi=10.1038/jhh.2008.144}}</ref> การรับประทานผลไม้และอาหารที่มีไขมันต่ำ (อาหารลดความดันโลหิต (Dietary Approaches to Stop Hypertension; DASH diet)) [[การออกกำลังกาย]]<ref name="pmid16508562">{{cite journal |author=Dickinson HO |title=Lifestyle interventions to reduce raised blood pressure: a systematic review of randomized controlled trials |journal=J. Hypertens. |volume=24 |issue=2 |pages=215–33 |year=2006 |month=February |pmid=16508562 |doi=10.1097/01.hjh.0000199800.72563.26 |author-separator=, |author2=Mason JM |author3=Nicolson DJ |display-authors=3 |last4=Campbell |first4=Fiona |last5=Beyer |first5=Fiona R |last6=Cook |first6=Julia V |last7=Williams |first7=Bryan |last8=Ford |first8=Gary A}}</ref> การลดน้ำหนัก<ref name=HaslamJames>{{cite journal |author=Haslam DW, James WP |title=Obesity |journal=Lancet |volume=366 |issue=9492 |pages=1197–209 |year=2005 |pmid=16198769 |doi=10.1016/S0140-6736 (05) 67483-1}}</ref> การลดการบริโภคแอลกอฮอล์<ref>{{cite journal | author = Whelton PK | year = 2002 | title = Primary prevention of hypertension:Clinical and public health advisory from The National High Blood Pressure Education Program | url = | journal = JAMA | volume = 288 | issue = 15| pages = 1882–8 | doi = 10.1001/jama.288.15.1882 | pmid = 12377087 | author-separator = , | author2 = He J | author3 = Appel LJ | author4 = Cutler JA | author5 = Havas S | author6 = Kotchen TA | display-authors = 6 | last7 = Roccella | first7 = EJ | last8 = Stout | first8 = R | last9 = Vallbona | first9 = C }}</ref> ความเครียดอาจมีผลต่อความดันเลือดเล็กน้อย<ref name=Stress2012>{{cite journal|last=Marshall|first=IJ|coauthors=Wolfe, CD; McKevitt, C|title=Lay perspectives on hypertension and drug adherence: systematic review of qualitative research.|journal=BMJ (Clinical research ed.)|date=20129 JulJuly 92012|volume=345|pages=e3953|pmid=22777025|pmc=3392078}}</ref> เนื่องจากยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนเรื่องเทคนิคการคลายความเครียดในการลดความดันเลือด<ref name=Relax2006>{{cite journal|last=Dickinson|first=HO|coauthors=Mason, JM; Nicolson, DJ; Campbell, F; Beyer, FR; Cook, JV; Williams, B; Ford, GA|title=Lifestyle interventions to reduce raised blood pressure: a systematic review of randomized controlled trials.|journal=Journal of hypertension|date=2006 Feb|volume=24|issue=2|pages=215-33|pmid=16508562|doi=10.1097/01.hjh.0000199800.72563.26}}</ref><ref name=O2007/> ปัจจัยอื่นๆที่อาจมีผลต่อความดันโลหิตสูงแต่ยังไม่ชัดเจน ได้แก่ การบริโภค[[คาเฟอีน]]<ref>Mesas AE, Leon-Muñoz LM, Rodriguez-Artalejo F, Lopez-Garcia E. The effect of coffee on blood pressure and cardiovascular disease in hypertensive individuals: a systematic review and meta-analysis. Am J Clin Nutr. 2011;94:1113–26.</ref> และการขาด[[วิตามินดี]]<ref>{{cite journal |author=Vaidya A, Forman JP |title=Vitamin D and hypertension: current evidence and future directions |journal=Hypertension |volume=56 |issue=5 |pages=774–9 |year=2010 |month=November |pmid=20937970 |doi=10.1161/HYPERTENSIONAHA.109.140160 |url=}}</ref> เชื่อกันว่า[[ภาวะดื้อต่ออินซูลิน]] (insulin resistance) ซึ่งพบได้บ่อยในคนอ้วนและเป็นองค์ประกอบของ[[กลุ่มอาการเมแทบอลิก]] (metabolic syndrome) เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง<ref name="pmid12364344">{{cite journal |author=Sorof J, Daniels S |title=Obesity hypertension in children: a problem of epidemic proportions |journal=Hypertension |volume=40 |issue=4 |pages=441–447 |year=2002 |month=October |pmid=12364344 |doi= 10.1161/01.HYP.0000032940.33466.12|url=http://hyper.ahajournals.org/cgi/pmidlookup?view=long&pmid=12364344 |accessdate=2009-06-03}}</ref> การศึกษาเร็วๆ นี้พบนัยยะว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นของชีวิต เช่น น้ำหนักแรกเกิดน้อย มารดาสูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ และการไม่ได้[[การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่|เลี้ยงลูกด้วยนมแม่]] อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงของความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุในผู้ใหญ่<ref name = "Lawlor 2005">{{cite journal|last=Lawlor|first=DA|coauthors=Smith, GD|title=Early life determinants of adult blood pressure|journal=Current opinion in nephrology and hypertension|date=May 2005|volume=14|issue=3|pages=259–64|pmid=15821420|doi=10.1097/01.mnh.0000165893.13620.2b}}</ref> แต่ทั้งนี้การอธิบายกลไกดังกล่าวยังคลุมเครือ<ref name = "Lawlor 2005"/>
 
=== ความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ===
บรรทัด 122:
|}
 
การวินิจฉัยความดันโลหิตสูงต้องมีภาวะที่ความดันเลือดสูงอย่างต่อเนื่อง โดยทั่วไป<ref name="NICE127 full"/>ต้องวัดความดันเลือดด้วยเครื่องวัดความดันโลหิตได้สูง 3 ครั้งในระยะเวลาห่างกัน 1 เดือน<ref>{{cite book| author=North of England Hypertension Guideline Development Group |chapter=Frequency of measurements |page=53| title=Essential hypertension (NICE CG18) |publisher=[[National Institute for Health and Clinical Excellence]] |date=1 August 2004 |url=http://guidance.nice.org.uk/index.jsp?action=download&o=48384 |accessdate=2011-12-22}}</ref> การประเมินผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเบื้องต้นต้องมีการซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างครบถ้วน เนื่องจากในปัจจุบันมีการใช้เครื่องวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง (24-hour ambulatory blood pressure monitors; ABPM) และเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติที่บ้าน (home blood pressure machines; HBPM) ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะความดันโลหิตสูง โดยอุปกรณ์ดังกล่าวมีประโยชน์เพื่อป้องกันการวินิจฉัยผิดจากภาวะความดันโลหิตสูงปลอมเฉพาะเวลาพบบุคลากรทางการแพทย์ (white coat hypertension) เวชปฏิบัติในสหราชอาณาจักรในปัจจุบันอาศัยการอ่านค่าความดันโลหิตจากเครื่องวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง หรืออาจใช้การอ่านค่าความดันโลหิตจากเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติที่บ้านเป็นเวลาต่อเนื่องกัน 7 วัน<ref name="NICE127 full">{{cite book |author=National Clinical Guideline Centre |title=Hypertension (NICE CG 127) |publisher=[[National Institute for Health and Clinical Excellence]] |chapter=7 Diagnosis of Hypertension, 7.5 Link from evidence to recommendations |page=102 |date=August 2011|url=http://www.nice.org.uk/nicemedia/live/13561/56007/56007.pdf |accessdate=2011-12-22}}</ref> อีกภาวะหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงคือภาวะความดันโลหิตสูงเทียมในผู้สูงอายุ (Pseudohypertension in the elderly) เชื่อว่าเกิดจากมีหินปูนเกาะตามหลอดเลือดแดง ทำให้อ่านค่าความดันเลือดจากการวัดได้สูงในขณะที่ความดันที่แท้จริงในหลอดเลือดนั้นปกติ<ref>{{cite journal|last=Franklin|first=SS|coauthors=Wilkinson, IB; McEniery, CM|title=Unusual hypertensive phenotypes: what is their significance?|journal=Hypertension|date=2012February Feb2012|volume=59|issue=2|pages=173–8|pmid=22184330|doi=10.1161/HYPERTENSIONAHA.111.182956}}</ref>
 
เมื่อผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง แพทย์จะต้องค้นหาสาเหตุโดยต้องอาศัยปัจจัยเสี่ยงและอาการอื่นๆ ของผู้ป่วย [[ความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ]]มักพบได้ในเด็กอายุก่อนวัยรุ่น โดยสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดคือ[[โรคไต]] ในขณะที่[[ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ]]หรือแบบปฐมภูมินั้นมักพบในวัยรุ่นและผู้ใหญ่และมักจะมีปัจจัยเสี่ยงหลายอย่าง เช่นโรคอ้วน และมีประวัติครอบครัวเป็นความดันโลหิตสูง<ref name="pmid16719248">{{cite journal | author = Luma GB, Spiotta RT | title = Hypertension in children and adolescents | journal = Am Fam Physician | volume = 73 | issue = 9 | pages = 1558–68 | month = May | year = 2006 | pmid = 16719248}}</ref> การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อค้นหาสาเหตุของความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ รวมทั้งเพื่อประเมินความเสียหายของอวัยวะต่างๆ จากความดันโลหิต เช่น [[หัวใจ]] [[ตา]] และ[[ไต]] การตรวจเพิ่มเติมสำหรับโรค[[เบาหวาน]]และระดับ[[ไขมันในเลือดสูง]]เนื่องจากทั้งสองโรคดังกล่าวเป็นปัจจัยเสี่ยงร่วมในการเกิด[[โรคหัวใจ]]และต้องรับการรักษาหากตรวจพบ<ref name="pmid10645931"/>