ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritsada s (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล คณะในมหาวิทยาลัย
| ชื่อ = คณะเศรษฐศาสตร์ <br>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรังสิต
| ภาพ = [[ไฟล์:EconRSUEconCU.gif]]
| ชื่ออังกฤษ = Faculty of Economics, RangsitChulalongkorn University
| วันที่ก่อตั้ง = [[18 พฤษภาคมสิงหาคม]] [[พ.ศ. 25452513]]
| คณบดี = ‘’’ผศ'''รศ.ดร.อนุสรณ์ชโยดม ธรรมใจ’’’สรรพศรี'''
| สีประจำคณะ = {{color box|orangegold}} [[สีอิฐทอง]]
| สัญลักษณ์คณะ = เฟือง, รวงข้าว และคันไถ
| ที่อยู่ = ชั้น 4 อาคารประสิทธิรัตน์์ (อาคาร 2) [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] ถ.พหลโยธิน [[อำเภอเมือง]] [[ปทุมธานี]] 12000
| วารสารคณะ = วารสารเศรษฐศาสตร์ <br>(J. of Economics)
| เว็บ = [http://www.rsu.ac.th/econ/ www.rsu.ac.th/econ]
| ที่อยู่ = [[ถนนพญาไท]] แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10330
| เว็บ = [http://www.rsuecon.chula.ac.th/econ/ www.rsuecon.chula.ac.th/econ]
}}
 
'''คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' ก่อตั้งเป็นคณะลำดับที่ 12 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2513 เปิดทำการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก โดยมี 10 หลักสูตร ซึ่ง 7 ใน 10 หลักสูตร เป็นหลักสูตรนานาชาติ และมีการแลกเปลี่ยนนิสิตและคณาจารย์กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ 19 แห่งทั่วโลก
 
== ประวัติ ==
ปี [[พ.ศ. 2510]] ศาสตราจารย์ อาภรณ์ กฤษณามระ คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีในขณะนั้น ได้ริเริ่มและเสนอโครงการยกฐานะแผนกวิชาเศรษฐศาสตร์ขึ้นเป็นคณะเศรษฐศาสตร์ต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาการศึกษาแห่งชาติ แต่สภาการศึกษาแห่งชาติได้พิจารณาหลักสูตรการศึกษาของโครงการดังกล่าวแล้วมีความเห็นว่า หลักสูตรนั้นมีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรการศึกษาของแผนกวิชาการคลัง คณะรัฐศาสตร์ อยู่มาก น่าที่จะพิจารณารวมการดำเนินงานเข้าด้วยกัน จึงส่งเรื่องมาให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพิจารณาอีกครั้ง ต่อมาเมื่อปี [[พ.ศ. 2513]] มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะเศรษฐศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยให้เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าวว่า เนื่องจากวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่สำคัญและจำเป็นในการวางแผนพัฒนาประเทศประกอบกับขณะนั้น ในประเทศไทยยังขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จำนวนมาก การสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขณะนั้นได้แยกกันจัดดำเนินการโดยสองแผนกวิชา คือ แผนกวิชาเศรษฐศาสตร์ [[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี]] และแผนกวิชาการคลัง [[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย| คณะรัฐศาสตร์]] ให้ยุบแผนกวิชาเศรษฐศาสตร์และแผนกวิชาการคลัง แล้วจัดตั้งเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโอนอาจารย์จากทั้ง 2 แผนกมาสังกัดคณะใหม่ โดยในขั้นแรกเปิดสอน 4 แผนกวิชา ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ทฤษฎี เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ เศรษฐศาสตร์การเงินและการคลัง และเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก ได้ก่อให้เกิดโอกาสมากมาย ขณะเดียวกันก็นำมาซึ่งความเสี่ยง และความไม่แน่นอน รวมทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมต่างๆ
 
== สัญลักษณ์ประจำคณะ ==
ปัจจุบัน ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศทั่วโลก สามารถติดต่อเชื่อมโยงถึงกันได้ จนมีสภาพเป็นเศรษฐกิจไร้พรมแดน ผู้มีความรู้ความเข้าใจ ถึงกลไกการปรับตัวทางเศรษฐกิจ ย่อมนำมาซึ่งความได้เปรียบ ทั้งในระดับบุคคล และระดับประเทศ ขณะเดียวกัน มีความจำเป็นที่สังคมต้องช่วยกันผลักดันให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจ การเติบโตที่มีคุณภาพ และการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม การพัฒนาองค์ความรู้ และการศึกษาอบรมความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ จึงมีความสำคัญต่อประเทศเป็นอย่างยิ่ง
* '''ตราประจำคณะ''' ได้แก่ เฟือง, รวงข้าว และคันไถ ซึ่งเป็นตัวแทนของ[[อุตสาหกรรม|ภาคอุตสาหกรรม]], [[เกษตรกรรม|ภาคเกษตรกรรม]] และ[[หัตถกรรม|ภาคหัตถกรรม]]
* '''สีประจำคณะ''' คือสีทอง สื่อความหมายถึง[[ทองคำ]] ซึ่งเป็นมาตรฐานของเงินตรานั่นเอง
 
== หลักสูตร ==
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยรังสิตได้เล็งเห็นความสำคัญของการผลิตทรัพยากรบุคคล ที่มีความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ สามารถบริหารทรัพยากร วางแผน วิเคราะห์โดยใช้พื้นฐานทางทฤษฎีและนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา การเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคม ให้ทันต่อเหตุการณ์ได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งยังเป็นการเตรียมกำลังคนเข้าสู่การประกอบอาชีพ ตามความต้องการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จึงได้ให้มีการจัดตั้งคณะเศรษฐศาสตร์ขึ้น
[[ไฟล์:EconCU.png|thumb|right|300px|บริเวณด้านหน้าของคณะเศรษฐศาสตร์]]
;ระดับปริญญาบัณฑิต
* หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มี 9 สาขาวิชา ได้แก่
** สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี
** สาขาเศรษฐศาสตร์พัฒนาการ
** สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
** สาขาเศรษฐศาสตร์สาธารณะ
** สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน
** สาขาเศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์
** สาขาเศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์
** สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
** สาขาเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยองค์กรและองค์กรอุตสาหกรรม
 
* หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) (หลักสูตรนานาชาติ)
คณะเศรษฐศาสตร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. 2542 เป็นคณะลำดับที่ 18 ของมหาวิทยาลัยรังสิต คณบดีคนแรกของคณะเศรษฐศาสตร์คือ ดร.โฆษะ อารียา อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ได้พัฒนาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิตภาษาอังกฤษ (International Program) ขึ้นมาก่อนและเริ่มแรกเปิดสอนในโครงการนานาชาติ ต่อมาในปีการศึกษา 2544 ได้จัดทำหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิตภาษาไทย และได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการจากทบวงมหาวิทยาลัยให้เปิดดำเนินการเมื่อ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 ในปีการศึกษา 2545 เป็นต้นมา คณะเศรษฐศาสตร์จึงได้เปิดรับนักศึกษาเข้าเรียนหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ภาษาไทยจน ถึงปัจจุบัน คณบดีคนที่สองของคณะคือ รศ.ดร.ณัฐพล ขันธไชย ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งระหว่าง ปี พ.ศ. 2547 - 2548 ต่อมา ผศ.จินตนา เชิญศิริ ได้ทำหน้าที่รักษาการคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ระหว่างปี พ.ศ. 2548 - 2549
 
;ระดับปริญญามหาบัณฑิต
และในปี พ.ศ. 2550 – ปัจจุบัน คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ คือ ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ จบการศึกษา Ph.D. ด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การเงินและการพัฒนา- Fordham University, U.S.A. ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ มีประสบการณ์การทำงานในระดับบริหารจากภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ ผ่านงานระดับบริหารทั้งสถาบันการเงินในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งงานทางด้านวิจัย วิชาการ และการสอนในระดับอุดมศึกษา คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ยังได้รับเกียรติให้ทำหน้าที่ดูแลการบริหารนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ในฐานะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย และกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง นอกจากนี้คณะมีคณาจารย์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านหลากหลายสาขา
* หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
 
* หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ เมื่อปีการศึกษา 2550 ปัจจุบันได้สานงานด้านต่าง ๆ ในคณะ และมีโครงการพัฒนาความก้าวหน้าของคณะหลายโครงการด้วยกัน อันได้แก่
** สาขา [[เศรษฐศาสตร์การเมือง]]
 
** สาขา Business and Managerial Economics (หลักสูตรนานาชาติ)
* : โครงการพัฒนาวิชาการด้านการเรียน การสอน พัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการของคณาจารย์ในคณะ และ พัฒนาศักยภาพนักศึกษาของคณะ
** สาขา International Economics and Finance (หลักสูตรนานาชาติ)
* : โครงการเปิดหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต Bi-Lingual
** สาขา Labor Economics and Human Resource Management (หลักสูตรนานาชาติ)
* : โครงการเปิดหลักสูตรปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ เปิดสอนในภาคการเรียนที่ 1 ปี 2556
* หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
* : โครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป
** สาขา Health Economics (หลักสูตรนานาชาติ)
* : โครงการสัมมนาประจำปี
** สาขา Environmental and Natural Resource Economics (หลักสูตรนานาชาติ)
* : จัดสัมมนาย่อยและระดับประเทศ ประเด็นปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ที่สำคัญในปัจจุบัน
* : โครงการบริการสังคมด้านอื่น ๆ
* : จัดอบรมบุคคลทั่วไป, นักลงทุน, ผู้ประกอบการ, ครูระดับมัธยมและนักเรียนระดับมัธยม ที่สนใจมีความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ทุกปีการศึกษา
 
ปัจจุบันหลักสูตรที่คณะเศรษฐศาสตร์รับผิดชอบ คือ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย และได้ทำการพัฒนาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ให้มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น หลักสูตรผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548
 
โดยคณะเศรษฐศาสตร์มีปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจดังนี้
 
ปรัชญาคณะเศรษฐศาสตร์ มีปรัชญาที่จะเป็นคณะที่มีส่วนในการชี้นำสังคม เสริมสร้างความเป็นธรรม ความก้าวหน้า และความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ เป็นศูนย์กลางทางวิชาการเศรษฐศาสตร์ เป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลเศรษฐกิจที่ทันเหตุการณ์ และร่วมผลักดันสังคมธรรมาธิปไตย
 
ปณิธานคณะเศรษฐศาสตร์ มีปณิธานที่จะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม และจิตสำนึกที่ดี และสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม การเมืองได้ นอกจากนี้คณะเศรษฐศาสตร์ยังมุ่งที่จะสร้างองค์ความรู้ใหม่อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยส่วนรวม และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
 
วิสัยทัศน์คณะเศรษฐศาสตร์ มุ่งมั่นที่จะเป็นคณะการศึกษาชั้นนำในการให้การศึกษาวิชาการเศรษฐศาสตร์ในระดับปริญญาตรีที่เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนเป็นคณะที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่สามารถเป็นฐานในการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจของชาติ
 
 
ต่อมาได้มีการพัฒนาหลักสูตรให้เป็นแขนงวิชามี 4 แขนงวิชา และเปิดการเรียนการสอนตามหลักสูตรดังกล่าวได้ในภาคการศึกษาที่ 1/2554 นอกจากนี้ คณะเศรษฐศาสตร์ยังรับผิดชอบในการให้การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ศึกษาเป็น ภาษาไทยในส่วนที่เป็นหมวดวิชาศึกษาทั่วไป แก่นักศึกษาคณะต่าง ๆ และในส่วนที่เป็นวิชาพื้นฐานวิชาชีพแก่นักศึกษา วิทยาลัยบริหารธุรกิจและรัฐกิจ และคณะอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ และคณะบัญชี
 
นอกจากนี้ ทางคณะเศรษฐศาสตร์ได้มีการพัฒนาหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2554) เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือเศรษฐศาสตร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล การพยากรณ์เศรษฐกิจ และวิจัยปัญหาเศรษฐกิจและธุรกิจปัจจุบัน ตลอดจนสามารถใช้เครื่องมือเศรษฐศาสตร์ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารองค์การ โดยได้ผ่านการอนุมัติเปิดหลักสูตรจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต และเปิดการเรียนการสอนได้ในภาคการศึกษาที่ 1/2556
 
นอกจากนี้ ทางคณะมีนโยบายสนับสนุนให้อาจารย์เรียนต่อในระดับปริญญาเอก และผลิตผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้คุณภาพการเรียนการสอนและการวิจัยมีมาตรฐานและคุณภาพดีขึ้นตามลำดับ
 
คณะเศรษฐศาสตร์ได้ขออนุมัติจัดตั้งศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูปแยกต่างหากขึ้นในปี 2551 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการวิจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์ และประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยและต่อคณะเศรษฐศาสตร์ เป็นการบริการทางวิชาการสู่สังคมและเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยรังสิตให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย ซึ่งทางศูนย์ฯ ได้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องตลอดมา
 
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตมีปรัชญาที่จะเป็นคณะที่จะฝึกอบรม และพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการถึงพร้อมด้วยคุณธรรม และมีบทบาทในการชี้นำและบริการทางวิชาการให้กับสังคม เป็นศูนย์กลางทางวิชาการเศรษฐศาสตร์ และเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลเศรษฐกิจที่ทันเหตุการณ์
 
ในปีพ.ศ.2554 เกิดมหาอุทกภัยกับมหาวิทยาลัยรังสิต คณะเศรษฐศาสตร์ซึ่งในขณะนั้น มีที่ทำการอยู่ที่ชั้น 1 อาคารประสิทธิรัตน์ ได้รับความเสียหาย คณาจารย์ เจ้าหน้าที่และนักศึกษาได้ร่วมกันฟื้นฟูคณะ และได้รับอนุมัติให้ย้ายที่ทำการมาอยู่ที่ชั้น 4 อาคารประสิทธิรัตน์แทน ดังนั้น ปัจจุบัน สำนักงานคณะเศรษฐศาสตร์ อยู่ทีชั้น 4 อาคารประสิทธิรัตน์ ห้อง 2-401 – 403 โดยจัดให้มีสำนักงานเลขานุการคณะ ห้องประชุม ห้องพักอาจารย์ ตลอดจนห้องเรียนในระดับปริญญาโทของคณะ รวมทั้งห้องสมุดคณะ และศูนย์ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและนโยบายสาธารณะ
 
== พันธกิจ ==
พันธกิจของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตประกอบด้วย
# จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตทางสาขาเศรษฐศาสตร์ที่มีคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรม
# ผลิตงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์เพื่อพัฒนาความรู้ และเป็นประโยชน์ทางวิชาการ
# ให้บริการทางวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและประเทศ
# มีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อรักษาความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นและของประเทศ
# พัฒนาศักยภาพของคณาจารย์และบุคลากรในด้านวิชาการและการบริหารจัดการ
 
== ข้อมูลปัจจุบัน ==
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มีอาจารย์ประจำคณะจำนวน 12 ท่าน เจ้าหน้าที่ธุรการคณะ จำนวน 4 ท่าน มีคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับเชิญมาเป็นอาจารย์พิเศษของคณะ สถานที่ตั้งคณะ อยู่ที่ชั้น 4 อาคารประสิทธิรัตน์ (อาคาร 2) ผู้ที่สนใจสามารถสอบถามข้อมูลและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่คณะเศรษฐศาสตร์ เบอร์โทร. 02-9972222 -30 ต่อ 1038, 1002 หรือ 1008 เบอร์โทรสาร 02-5339695 หรือ Facebook คณะที่ Faculty of Economics, Rangsit University.
 
;ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต
* หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* หนังสือเปิดรั้วจามจุรี : สาราณียากร องค์การบริหารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
* [http://www.rsu.ac.th/econ/AboutUS.aspx]
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.rsuecon.chula.ac.th/econ/ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรังสิต]
 
{{คณะเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย}}
{{คณะในมหาวิทยาลัยรังสิตจุฬาฯ}}
 
[[หมวดหมู่:คณะเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย|จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรังสิต]]
[[หมวดหมู่:หน่วยงานในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรังสิต]]