ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรรมฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''กรรมฐาน''' (บาลี :kammaṭṭhāna, กมฺมฏฺาน) (สันสกฤต: karmasthana) หมายถึง ที่ตั้งแห่งการทำงานของ[[จิต]] สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำให้เกิด[[สมาธิ]] กรรมฐานจึงเป็นสิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด เพื่อให้จิตสงบอยู่ได้ ไม่เที่ยวเตลิดเลื่อนลอยฟุ้งซ่าน ไปอย่างไร้จุดหมาย อย่าง
 
อย่างไรในพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวงแปลคำว่า ''กมฺมฏฺาน'' ว่า ''ฐานะแห่งการงาน''<ref>พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง เล่มที่ 13 สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ หน้าที่ 593 ข้อที่ 713</ref> <ref>พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ เล่มที่ 13 สุตฺตนฺตปิฏเก มชฺฌิมนิกายสฺส มชฺฌิมปณฺณาสกํ หน้าที่ 653 ข้อที่ 713</ref> มากไปกว่า นั้นในพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐพบคำว่า ''กมฺมฏฺาน'' เฉพาะในสุตฺตนฺตปิฏเก มชฺฌิมนิกายสฺสเล่มที่ มชฺฌิมปณฺณาสกํ13 ข้อที่ 711 ถึง 713 เท่านั้น<ref>พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ</ref>
 
{{quote| เสยฺยถาปิ มาณว กสิกมฺมฏฺาน มหตฺถ มหากิจฺจ