ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนราหูน้ำจืด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
ได้ชื่อว่า "[[พระราหู|ราหู]]" เนื่องจากขนาดลำตัวที่ใหญ่เหมือนราหูอมจันทร์ตามคติของคนโบราณ อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกด้วยว่า หากใครพบเห็นหรือจับปลากระเบนราหูน้ำจืดได้ จะพบกับความโชคร้าย <ref name="บาง"/>
 
ปลากระเบนราหูน้ำจืด ถูก[[อนุกรมวิธาน]]ในปี [[ค.ศ. 1990]] โดย [[ศาสตราจารย์|ศ.]]ดร.[[สุภาพ มงคลประสิทธิ์]] ขณะดำรงตำแหน่งคณบดี[[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] และ ดร.[[ไทสัน โรเบิร์ตส์]] แห่งสถาบัน[[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] โดยให้ใช้ชื่อว่า ''Himantura chaophraya'' ตามชื่อสถานที่ (แม่น้ำเจ้าพระยา) ได้[[ตัวอย่างต้นแบบแรก]]ที่ได้รับจาก [[กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์]] นักสำรวจปลาน้ำจืดที่มีผลงานมากมายชาวไทย ซึ่งจับได้จากแม่น้ำเจ้าพระยาที่เขต[[อำเภอบางไทร]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]<ref>''เปิดตำนานเจ้าพ่อปลาแม่น้ำ'', Interview in Magazine Aquarium Biz Issue. 2 Vol.1: August 2010 </ref> (แต่ต่อมาชื่อวิทยาศาสตร์ได้เปลี่ยนเป็น ''Himantura polylepis'' ตามที่เคยมีผู้ตั้งไว้ในอดีต<ref>Last, P.R.; Manjaji-Matsumoto, B.M. (2008). "''Himantura dalyensis'' sp. nov., a new estuarine whipray (Myliobatoidei: Dasyatidae) from northern Australia". In Last, P.R.; White, W.T.; Pogonoski, J.J. ''Descriptions of new Australian Chondrichthyans''. CSIRO Marine and Atmospheric Research. pp. 283–291. ISBN 0-1921424-1-0.</ref><ref name="IUCN"/> แต่ในข้อมูลบางแหล่ง ระบุว่าชื่อ ''Himantura polylepis'' อาจจะไม่แน่นอนว่าเป็นชนิดเดียวกันกับ ''Himantura chaophraya'' ก็ได้ จึงยังคงใช้ชื่อเดิมอยู่<ref>หน้า 102-120, ''กระเบนน้ำจืดแห่งชาติ''. "Wild Ambition" โดย กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, ชวลิต วิทยานนท์. นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 4 ฉบับที่ 51: กันยายน 2014</ref>)
 
ปลากระเบนราหูน้ำจืดมักถูกพบจับขึ้นมาชำแหละเนื้อขายเสมอในจังหวัดริมแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่จังหวัดชัยนาทจนถึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และปากแม่น้ำแม่กลอง ตามที่ปรากฏเป็นข่าวบ่อย ๆ ตามหน้าสื่อมวลชนต่าง ๆ
บรรทัด 60:
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==