ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 2:
 
ในภาษาไทย บางทีเรียกลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ว่า ''กษัตริยนิยม''<ref name = Thongchai/> ''กษัตริย์นิยม''<ref name = PPIT/> ''ลัทธินิยมเจ้า''<ref name = Thongchai/> ''กระแสนิยมเจ้า''<ref name = Thongchai>ธงชัย วินิจจะกูล, 2548 : ออนไลน์.</ref> หรือ ''ราชวงศนิยม''<ref name = PPIT>Political Prisoners in Thailand, 2549 : ออนไลน์.</ref>
 
== ประเทศไทย ==
ใน[[ประเทศไทย]] ลัทธินี้ปรากฏใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]แทบทุกฉบับที่มีมา เช่น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550|ฉบับ พ.ศ. 2550]] มาตรา 8 ว่า <ref>[http://th.wikisource.org/wiki/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_๒๕๕๐/หมวด_๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐/หมวด ๒], วิกิซอร์ซ</ref>
 
{{คำพูด|องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้<br/>ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้}}
 
== อ้างอิง ==