ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตั้งครรภ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 37:
===การพัฒนาการของตัวอ่อนและทารกในครรภ์===
{{Main|Prenatal development|Human embryogenesis|Fetus}}
[[Fileไฟล์:HumanEmbryogenesis.svg|thumb|ขั้นตอนการเริ่มต้นของมนุษย์ในรูปเอ็มบริโอ([[human embryogenesis]])]]
เมื่ออสุจิและเซลล์ไข่ถูกเข้ามามาใน[[ovaries|รังไข่]] ข้างใดข้างหนึ่งของผู้หญิงแล้ว เมื่อรวมกันแล้วใน[[fallopian tubes|ท่อรังไข่]] ไข่ที่เรารู้จักกันจะอยู่ในรูปของ [[zygote]] จะเดินทางเคลื่อนตัวไปยังมดลูก เป็นการเดินทางที่ใช้เวลานานกว่าหนึ่งสัปดาห์กว่าจะสมบูรณ์ เซลล์จะเริ่มแบ่งตัวภายใน 24 ถึง 36 ชั่วโมงหลังจากที่อสุจิและไข่มารวมกัน. เซลล์แบ่งตัวอย่างต่อเนื่องในอัตราที่รวดเร็วและเซลล์ที่พัฒนาที่เรารู้กันในรูปตัวอ่อน([[blastocyst]]). ตัวอ่อนนี้จะมาถึงมดลูกและฝังตัวยึดติดกับผนังมดลูก ขั้นตอนนี้เราเรียกว่า การฝังตัว([[implantation (human embryo)|implantation]])
 
บรรทัด 49:
 
<center><gallery>
Imageไฟล์:6 weeks pregnant.png|เอ็มบริโอ 4 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-6.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 6 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/6-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-6.html here].</ref>
Imageไฟล์:10 weeks pregnant.png|ทารกในครรภ์ 8 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-10.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 10 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/10-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-10.html here].</ref>
Imageไฟล์:20 weeks pregnant.png|ทารกในครรภ์ at 18 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-20.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 20 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/20-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-20.html here].</ref>
Imageไฟล์:40 weeks pregnant.png|ทารกในครรภ์ at 38 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-40.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 40 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/40-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-40.html here].</ref>
</gallery></center>
<center><gallery>
Imageไฟล์:Month 1.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 1 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
Imageไฟล์:Month 3.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 3 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
Imageไฟล์:Month 5.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 5 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
Imageไฟล์:Month 9.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 9 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
</gallery></center>
 
===การเปลี่ยนแปลงของมารดา===
{{Main|Maternal physiological changes in pregnancy}}
[[Fileไฟล์:Breast changes during pregnancy 1.png|thumb|การเปลี่ยนแปลงของเต้านมของผู้หญิงในระหว่างตั้งครรภ์ ลานนมจะมีขนาดใหญ่และสีคล้ำขึ้น]]
ในระหว่างตั้งครรภ์ผู้หญิงจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา([[physiology|physiological]]) มากมาย ซึ่งเป็นเรื่องปกติ รวมไปถึงหัวใจและหลอดเลือด([[cardiovascular]]) , โลหิตวิทยา([[hematology|hematologic]]), ระบบการเผาผลาญ([[metabolism|metabolic]]), ไต([[renal]]) และระบบทางเดินหายใจ([[respiration (physiology)|respiratory]]) การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้สำคัญอย่างมากในกรณีที่มีภาวะโรคแทรกซ้อน ร่างกายจะต้องเปลี่ยนทั้งสรีระวิทยาและร่างกายจะต้องรักษาความสมดุลกลไกของร่างกายไว้ให้คงที่เพื่อเตรียมไว้ให้ทารกระหว่างตั้งครรภ์ การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำตาลในเลือด, การหายใจและระดับการเต้นของหัวใจ ระดับฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดการตั้งครรภ์ มีการระงับการทำงานของแกนการประสานงานระบบประสาท(hypothalamic axis) และการมาของรอบประจำเดือน
 
บรรทัด 74:
 
====ไตรมาสแรก====
[[Imageไฟล์:2917 Size of Uterus Throughout Pregnancy-02.jpg|thumb|upright|มดลูกจะมีการเปลี่ยนแปลงขนาดตามระยะเวลาการตั้งครรภ์แต่ละไตรมาส]]
[[Minute ventilation]] จะเพิ่มขึ้น 40% ในไตรมาสแรก.<ref name="pmid11316633">{{cite journal | author = Campbell LA, Klocke RA | title = Implications for the pregnant patient | journal = American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine | volume = 163 | issue = 5 | pages = 1051–54 | date = April 2001 | pmid = 11316633 | doi = 10.1164/ajrccm.163.5.16353 }}</ref> ครรภ์จะโตขึ้นเท่าลูกมะนาวในช่วง 8 สัปดาห์ อาการและลำบากของการตั้งครรภ์หลายๆ อย่างจะปรากฏขึ้นในไตรมาสแรก([[symptoms and discomforts of pregnancy]]) ซึ่งจะอธิบายในส่วนต่อมา<ref>http://www.nhs.uk/conditions/pregnancy-and-baby/pages/pregnancy-weeks-4-5-6-7-8.aspx#close</ref>
 
====ไตรมาสที่สอง====
[[Fileไฟล์:Pregnancy 26 weeks 1.jpg|upright|thumb|ในตอนปลายของไตรมาสที่สอง,มดลูกขยายจนเห็นได้ชัดจนเห็น"เด็กดิ้น". แม้ว่าหน้าอกจะได้รับการพัฒนาตั้งแต่แรกของการตั้งครรภ์ แต่ความเปลี่ยนแปลงจะปรากฏชัดในไตรมาสนี้]]
สัปดาห์ที่ 13 ถึง 28 ของการตั้งครรภ์จะเรียกว่าไตรมาส 2 ผู้หญิงส่วนใหญ่จะเริ่มชีวิตชีวาในช่วงนี้, อาการวิงเวียนในตอนเช้าและอาการเจ็บป่วยจะค่อยๆ จางหายไป เมื่อมีทารกแล้วมดลูกสามารถโตได้ถึง 20 เท่าจากขนาดปกติในระหว่างตั้งครรภ์
 
บรรทัด 84:
 
====ไตรมาสที่สาม====
[[Imageไฟล์:Bumm 123 lg.jpg|thumb|มดลูกขยายจนมีขนาดใหญ่และท้องของผู้หญิงก็ใหญ่ขึ้นมาก.ดูจากภาพด้านซ้ายจะแสดงขนาดของแต่ละเดือน, ส่วนภาพด้านขวาจะแสดงให้เห็นช่วง 4 สัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์ ในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์มดลูกจะลดต่ำลง]]
น้ำหนักที่จะขึ้นในไตรมาสสุดท้ายนี้ ซึ่งเป็นน้ำหนักที่ขึ้นมากที่สุดในตลอดการตั้งครรภ์. ท้องของหญิงตั้งครรภ์เริ่มลดเนื่องมาจากทารกเริ่มเคลื่อนต่ำลงตำแหน่งที่พร้อมสำหรับการเกิด ในช่วงไตรมาสที่สอง, ช่องท้องของหญิงตั้งครรภ์จะอยู่ในสภาพที่ตั้งออกมามาก แต่ในช่วงไตรมาสที่สามจะเคลื่อนตัวลงมาค่อนข้างต่ำ และท้องผู้หญิงสามารถสามารถยกขึ้นและลงได้ ทารกในครรภ์สามารถเคลื่อนไหวย้ายไปมาได้จนแม่รู้สึกได้ การเคลื่อนไหวของทารกที่แข็งแรงรวดเร็วจนทำให้เกิดความเจ็บปวดกับหญิงตั้งครรภ์ได้ สะดือ([[navel]])ของหญิงตั้งครรภ์อาจจะนูนขึ้นได้เนื่องจากการขยายช่องท้อง([[abdomen]])ของเธอ
 
ส่วนที่กว้างที่สุดของศรีษะศีรษะ([[Head engagement]]) ของทารกในครรภ์นำศรีษะศีรษะลง([[cephalic presentation]]), การหายใจจะช่วยบรรเทาความดันของช่องท้องส่วนบนได้ นอกจากนี้ยังบรรเทาความรุนแรงของกระเพาะปัสสวะที่มีขนาดเล็กลง และเพิ่มความดันในอุ้งเชิงกรานและทวารหนัก
 
ในช่วงไตรมาสที่สาม กิจกรรมและตำแหน่งการนอนของมารดาอาจมีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์อันเนื่องมาจากระบบการหมุนเวียนของเลือดมีพื้นที่จำกัด ตัวอย่างเช่น มดลูกในครรภ์ที่มีการขยายตัวขึ้นมีผลการไหลเวียนของโลหิตโดยมีการบีบการทำงานของหลอดเลือดดำ([[vena cava]])ลดต่ำลง, โดยการนอนตะแคงตำแหน่งด้านซ้ายปรากฏว่าสามารถให้ออกซิเจนสู่ทารกได้ดีกว่า.<ref name="pmid21673002">{{cite journal | author = Stacey T, Thompson JM, Mitchell EA, Ekeroma AJ, Zuccollo JM, McCowan LM | title = Association between maternal sleep practices and risk of late stillbirth: a case-control study | journal = BMJ (Clinical research ed.) | volume = 342 | pages = d3403 | date = Jun 14, 2011 | pmid = 21673002 | pmc = 3114953 | doi = 10.1136/bmj.d3403 }}</ref>
บรรทัด 94:
ระยะห่างของช่วงเวลาที่สำคัญของการตั้งครรภ์ขึ้นอยู่กับวันเริ่มต้น
 
การวัดจะอ้างจากกลุ่ม([[reference group]])ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีรอบของประจำเดือน([[menstrual cycle]]) 28 วัน และเป็นวันเริ่มทางธรรมชาติในการคลอดบุตร ความหมายคือ ช่วงระยะเวลาของการตั้งครรภ์จะอยู่ช่วงประมาณ 283.4 วันของอายุครรภ์([[gestational age]]) โดยเริ่มการนับคือวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย([[last menstrual period]]) ที่จะต้องจดจำได้โดยแม่, และ 280.6 วันโดยการประมาณการอายุครรภ์จากการวัดเวลาอัลตราซาวนด์การคลอดบุตร([[obstetric ultrasound]])ของเส้นผ่าศูนย์กลางความยาวของกระโหลกศรีษะศีรษะของทารกในครรภ์ ([[fetal biparietal diameter]] ย่อว่า BPD) ในไตรมาสที่สอง<ref name=Kieler2003/> ส่วนขั้นตอนวิธีการอื่นนั้นต้องคำนึงถึงตัวแปรที่มีความหลากหลายอื่นๆ เช่่นเช่น เป็นลูกคนแรกหรือเป็นลูกคนที่เท่าไหร่ (เช่น หญิงตั้งครรภ์ที่เป็น ผู้ที่คลอดบุตร/ตั้งครรภ์ครั้งแรก(primipara) หรือผู้ที่คลอดบุตรมาแล้วหลายครั้ง/ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง([[multipara]]) เชื้อชาติของ,อายุ, ระยะของรอบเดือนและความสม่ำเสมอของมารดา) แต่ข้อมูลเหล่านี้ก็ไม่ค่อยได้ใช้ในสำหรับผู้ที่เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ. เพื่อให้มีสิ่งอ้างอิงถึงมาตรฐาน ระยะเวลาของการตั้งครรภ์โดยปกติทั่วไปคือ 280 วัน (หรือ 40 สัปดาห์) ของอายุครรภ์
 
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน([[standard deviation]]) คือ 8-9 วันเป็นวันที่ครบรอบการคำนวณเป็นวิธีการที่ถูกต้องที่สุด ความหมายก็คือ น้อยกว่าร้อยละ 5 ของการเกิด เกิดในวันที่ครบ 40 สัปดาห์ของอายุครรภ์ มีร้อยละ 50 เกิดภายในสัปดาห์ของช่วงระยะเวลานี้ และประมาณร้อยละ 80 ภายใน 2 สัปดาห์<ref name=Kieler2003>{{cite journal |author=Dr H. Kieler, O. Axelsson, S. Nilsson, U. Waldenströ|title=The length of human pregnancy as calculated by ultrasonographic measurement of the fetal biparietal diameter|journal=Ultrasound in Obstetrics & Gynecology|pages=353–357|volume=6|issue=5 |year=1995|doi=10.1046/j.1469-0705.1995.06050353.x|pmid=8590208}}</ref> เป็นการประมาณของวันที่ครบกำหนดคลอด,แอพพลิเคชั่นแอปพลิเคชันที่อยู่บนมือถือ([[mobile app]]s) มีความสอดคล้องกับการประมาณการแบบอื่นๆ และมีความถูกต้องกับปีอธิกสุรทิน([[leap year]] คือวันที่เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน) ในขณะที่วงล้อตั้งครรภ์ที่ทำจากกระดาษสามารถแตกต่างจากกันโดย 7 วันและมักจะไม่ถูกต้องนักสำหรับปีอธิกสุรทิน <ref name="pmid24036402">{{cite journal | author = Chambliss LR, Clark SL | title = Paper gestational age wheels are generally inaccurate | journal = Am. J. Obstet. Gynecol. | volume = 210 | issue = 2 | pages = 145.e1–4 | year = 2014 | pmid = 24036402 | doi = 10.1016/j.ajog.2013.09.013 }}</ref>
 
ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจะใช้กฏ [[Naegele's rule]] กันมาก(กฏนี้มักจะใช้กับผู้ที่มีประจำเดือนมาสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิด) ซึ่งได้รับการพัฒนาในช่วงศตวรรษที่ 19. การคำนวณวันครบกำหนดคาดมาจากวันแรกของรอบระยะเวลาที่ผ่านมาปกติประจำเดือน (LMP ย่อมากจาก Last menstrual period[ช่วงที่มีประจำเดือนครั้งสุดท้าย] หรือ LNMP ย่อมาจาก Last&nbsp;normal&nbsp;menstrual period[ช่วงที่มีประจำเดือนครั้งสุดท้ายปกติ]) โดยไม่คำนึงถึงปัจจัยที่รู้กันโดยอาจจะคลาดเคลื่อน เช่น ความสั้นยาวของรอบของประจำเดือน การตั้งครรภ์ปกติโดยมากจะอยู่ที่ 40 สัปดาห์ ตามวิธีการ LNMP-based method เช่น สมมติว่าผู้หญิงมีความยาวรอบประจำเดือนตามที่คาดการณ์ไว้ 28 วันและการรตั้งครรภ์จะอยู่ในวันที่ 14 ของรอบนั้น
บรรทัด 104:
ความแม่นยำของวันที่ในการตั้งครรภ์นั้นมีความสำคัญมาก, เพราะมันจะถูกนำมาใช้ในการคำนวณผลของการทดสอบการคลอดต่างๆ ([[Prenatal diagnosis|prenatal tests]]), (ตัวอย่างคือผล [[triple test]] ซึ่งเป็นการตรวจเลือดสตรีตั้งครรภ์เพื่อตรวจกรองภาวะทารกผิดปกติ) ซึ่งมีผล([[Induction (birth)|induce]])กับการที่ต้องตัดสินใจในกระบวนการคลอด ถ้าทารกเลยกำหนดเวลาตั้งครรภ์ นอกจากนี้ ถ้าเปรียบเทียบประจำเดือนครั้งสุดท้ายและการอัลตร้าซาวด์ผลของการครบกำหนดช้าเร็วของอายุครรภ์ต่างกัน นั่นอาจหมายความว่าการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้าผิดปกติจึงต้องมีการตรวจสอบอย่างใกล้ชิด
 
ขั้นตอนข้อกำหนดทางกฏหมายกฎหมายของการตั้งครรภ์กำหนดได้ว่าหากมีการเริ่มต้นตั้งแต่ทารกเจริญเติบโตในครรภ์([[fetal viability]]) ซึ่งมีความแตกต่างกันทั่วโลก บางครั้งก็รวมไปถึงน้ำหนักและทั้งอายุครรภ์.<ref name=AIHW-2012>{{cite web|last=Li|first=Z|title=Australia's Mothers and Babies 2010|url=http://www.aihw.gov.au/WorkArea/DownloadAsset.aspx?id=60129542372|work=Perinatal statistics series no. 27. Cat. no. PER 57|publisher=Australian Institute of Health and Welfare National Perinatal Statistics Unit, Australian Government|accessdate=4 July 2013|coauthors=Zeki, R; Hilder, L; Sullivan, EA|year=2012}}</ref> นอร์เวย์เริ่มที่ครรภ์ 16 สัปดาห์,อเมริกาและออสเตรเลียเริ่มที่ 20 สัปดาห์,อังกฤษเริ่มที่ครรภ์ 24 สัปดาห์และอิตาลีกับเสปนเริ่มที่ 26 สัปดาห์.<ref name="AIHW-2012"/><ref name=Mohangoo-2013>{{cite journal | author = Mohangoo AD, Blondel B, Gissler M, Velebil P, Macfarlane A, Zeitlin J | title = International comparisons of fetal and neonatal mortality rates in high-income countries: should exclusion thresholds be based on birth weight or gestational age? | journal = PLoS ONE | volume = 8 | issue = 5 | pages = e64869 | year = 2013 | pmid = 23700489 | pmc = 3658983 | doi = 10.1371/journal.pone.0064869 | editor1-last = Wright | editor1-first = Linda }}</ref><ref name=RCOG-late-abortion>{{cite web|last=Royal College of Obstetricians and Gynaecologists UK|title=Further Issues Relating to Late Abortion, Fetal Viability and Registration of Births and Deaths|url=http://www.rcog.org.uk/womens-health/clinical-guidance/further-issues-relating-late-abortion-fetal-viability-and-registrati|publisher=Royal College of Obstetricians and Gynaecologists UK|accessdate=4 July 2013|date=April 2001}}</ref>
 
====ทารกที่คลอดก่อนกำหนดและทารกที่อายุครรภ์เกินกำหนด====
บรรทัด 126:
ผู้หญิงเมื่อพิจารณาว่าจะคลอดเมื่อเธอรู้สึกได้ว่ามดลูกได้บีบตัว ซึ่งอาการนี้จะมาพร้อมกับปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลง(ปากมดลูกเปิด) – แรกเริ่มปากมดลูกบางลงและเปิดขยายออก ขณะที่คลอดบุตรถือเป็นประสบการณ์อย่างที่รู้กันดีว่าเป็นความเจ็บปวด แต่หญิงตั้งครรภ์บางคนก็มีรายงานว่าไม่เจ็บปวด ในขณะที่บางคนก็พยายามจะช่วยหาทาเร่งเพื่อจะได้คลอดเร็วขึ้นและลดความรู้สึกตื่นเต้น การเกิดส่วนใหญ่จะเกิดจากการคลอดธรรมชาติที่ทารกออกมาจากปากมดลูก แต่บางครั้งในกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อนและหญิงตั้งครรภ์เกิดความทรมานจนทำให้เกิดการผ่าตัดคลอด([[cesarean section]])
 
ในช่วงเวลาทันทีหลังจากคลอด, ทั้งแม่ละลูกฮอร์โมนมีความเกี่ยวพันกัน แม่หลั่งสารฮอร์โมน([[oxytocin]] เป็นฮอร์โมนออกฤทธิ์ที่่ที่มดลูกซึ่งช่วยให้มดลูกหดตัวและกระตุ้นการเกิดน้ำนม), ฮอร์โมนนี้ก็ยังจะถูกสร้างอยู่เรื่อยๆ เมื่ออยู่ในระหว่างให้นมบุตร([[breastfeeding]]) จากผลการศึกษาว่าการสัมผัสกันทางผิวหนังระหว่างแม่และลูกน้อยแรกเกิดของเธอทันทีนั้นจะเกิดประโยชน์กับทั้งแม่และลูกน้อย การตรวจสอบจากองค์การอนามัยโลก([[World Health Organization]]) การกอดหรือการสัมผัสจากมารดาหลังคลอดจะช่วยลดอาการที่ทารกแรกเกิดร้องไห้ได้, จะช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างแม่และทารกให้ดีขึ้น และช่วยแม่ให้นมลูกได้สำเร็จ พวกเค้าแนะนำเกี่ยวกับเด็กแรกเกิด([[neonates]]) ว่าควรจะอนุญาติอนุญาตให้แม่อยู่กับลูกครั้งแรกสองชั่วโมงหลังจากคลอดเพื่อให้เกิดความผูกพันธ์ผูกพัน ในช่วงเวลานี้ทั้งแม่และทารกน้อยมีแนวโน้มที่จะช่วยเพิ่มความพร้อมในช่วงเวลาต่อจากนี้ไปของทารก<ref>[http://apps.who.int/rhl/newborn/gpcom/en/index.html WHO | Early skin-to-skin contact for mothers and their healthy newborn infants<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
===ช่วงเวลาหลังคลอด===
บรรทัด 137:
===สัญญาณทางกายภาพ===
{{Further|Symptoms and discomforts of pregnancy}}
[[Fileไฟล์:Linea nigra.jpg|thumb|[[Linea nigra|เส้นสีดำบริเวณท้องล่าง]] เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์ประมาณในสัปดาห์ที่ 22]]
หญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ที่มีประสบการณ์จะรู้ถึงจำนวนอาการที่เกิดขึ้นที่บ่งบอกเป็นสัญญาณว่าได้เกิดการตั้งครรภ์แล้ว อาการเหล่านี้รวมไปถึงอาการคลื่นไส้อาเจียน อาการเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าที่มากขึ้นกว่าปกติ, ความอยากอาหารบางชนิดที่ไม่ใช่สิ่งที่เคยกินและปัสสวะบ่อยขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในตอนกลางคืน
 
บรรทัด 153:
 
<center><gallery>
Imageไฟล์:Fetal movements 3D Ultrasound Dr. Wolfgang Moroder.theora.ogv| ภาพอัลตร้าซาวด์ 3 มิติที่แสดงการเคลื่อนไหวของทารก 12 สัปดาห์
Imageไฟล์:Ultrasound_image_of_a_fetus.jpg| 75-มิลลิเมตร (ขนาดทารกประมาณ 14 สัปดาห์ [[gestational age]])
Imageไฟล์:Sucking his thumb and waving.jpg|ทารก 17 สัปดาห์
Imageไฟล์:3dultrasound 20 weeks.jpg|ทารก at 20 สัปดาห์
</gallery></center>
 
บรรทัด 225:
==อาการและสิ่งที่รู้สึกไม่สบายกายในช่วงตั้งครรภ์ ==
{{Main|Symptoms and discomforts of pregnancy}}
[[Fileไฟล์:Melasmablemish.jpg|thumb|[[Melasma|ฝ้า]] เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเม็ดสีในระหว่างตั้งครรภ์]]
[[symptoms and discomforts of pregnancy|อาการและสิ่งที่ทำให้รู้สึกไม่สบายกายในช่วงตั้งครรภ์]] คือ สิ่งที่แสดงออกมาในแง่ของสุขภาพที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาเวลาตอนตั้งครรภ์ แต่ก็ไม่ได้รบกวน[[activities of daily living|กิจกรรมและการใช้ชีวิตประจำวัน]]หรือก่อให้เกิดภัยอะไรสำคัญของสุขภาพทั้งต่อมารดาและทารก ในให้ผลทางตรงกันข้ามกับคำว่า [[pregnancy complication|ภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์]] ยังคงไม่สามารถแยกได้ชัดเจนระหว่างอาการที่ไม่สบายตัวเมื่อเทียบกับอาการแทรกซ้อน และบางทีในแง่ความรู้สึกไม่สบายกับอาการแทรกซ้อนก็มาจากพื้นฐานเดียวกันแต่ก็จะดูถึงความรุนแรง. ตัวอย่างเช่น อาการคลื่นไส้อาเจียนอาจจะทำให้รู้สึกไม่สบาย([[morning sickness|แพ้ท้อง]]) แต่ถ้ารุนแรงและก่อให้เกิดการอาเจียน จนทำให้น้ำในร่างกายไม่สมดุลแล้ว([[water-electrolyte imbalance]]) นั่นจะถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์([[hyperemesis gravidarum]] หมายถึง ผู้ตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนอย่างรุนแรงน้ำหนักลดมากกว่า ร้อยละ 5 ของน้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์ ร่างกายมีภาวะขาดน้ำ ขาดสมดุลกรดด่างและเกลือแร่จนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล).
 
บรรทัด 253:
*[[Postpartum psychosis|โรคแปรปรวนหลังคลอดบุตร]]
*ความผิดปกติลิ่มเลือดอุดตันอันเป็นสาเหตุการตายของหญิงตั้งครรภ์ในสหรัฐอเมริกา.<ref>{{cite web|last=C. Blackwell|first=Sean|title=Thromboembolic Disorders During Pregnancy|url=http://www.merckmanuals.com/home/womens_health_issues/pregnancy_complicated_by_disease/thromboembolic_disorders_during_pregnancy.html|publisher=Merck Sharp & Dohme Corp|date=December 2008}}</ref>
*ผื่น [[PUPPP]] (Pruritic Urticarial Papules and Plaques of Pregnancy) เป็นโรคผิวหนังที่มักเกิดในช่วงอายุครรภ์ 32 สัปดาห์่สัปดาห์ เป็นผื่นสีแดงของเลือดคั่งอาการคันรอบ ๆ ที่กระจายไปทั่วร่างกายยกเว้นภายในของมือและใบหน้า
*[[Ectopic pregnancy|การตั้งครรภ์นอกมดลูก]] เป็นการฝังของตัวอ่อนนอกมดลูก
*[[Hyperemesis gravidarum|อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง]] มีอาการคลื่นไส้มากและรุนแรงมากกว่าการ[[morning sickness|แพ้ท้องธรรมดา]].
บรรทัด 275:
 
==สังคมและวัฒนธรรม==
[[Fileไฟล์:Venus of Willendorf 03.jpg|thumb|รูปปั้น "[[Venus of Willendorf|วีนัสแห่งวิลเลนดอร์ฟ]]"]]
<!-- This section has no references because it is mostly based on the German Wikipedia article. Most information here is common sense or should be easy to source. The section is intended to kickstart a more in-depth treatment. -->
 
บรรทัด 286:
การตั้งครรภ์เป็นเรื่องที่สำคัญในทาง[[sociology of the family|สังคมวิทยาของครอบครัว]] เด็กที่ถูกคาดหวังตั้งแต่แรกจะถูกกำหนดกฏเกณฑ์เป็นจำนวนมากจาก[[social role|บทบาททางสังคม]] ความสัมพันธ์ของพ่อแม่หรือความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองบวกกับสภาพแวดล้อมมีผลกระทบโดยตรงต่อของเด็กๆ
 
[[Fileไฟล์:Giotto - Scrovegni - -16- - Visitation.jpg|thumb|left|
จอตโต ดี บอนโดเน([[Giotto di Bondone]]: สถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาลีได้เขียน
<p />ภาพวาดการเฉลิมฉลองการมาเยี่ยมเยียนของพระมารดาแห่งพระเยซู เรียกว่า [[Visitation (Christianity)|Visitation]]), ประมาณปี 1305]]
บรรทัด 301:
===การแท้ง===
{{main|Abortion}}
ทำแท้งคือการสิ้นสุดของตัวอ่อนทารกในครรภ์ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติหรือผ่านวิธีการทางการแพทย์ มักจะเกิดในไตรมาสแรกมากกว่าไตรมาสที่สองและมักจะไม่เกิดในไตรมาสที่สาม.<ref name=sharply /> ไม่ใช่การคุมกำเนิดหรือการคุมกำเนิดล้มเหลวจากครอบครัวที่ยากจนหรือการถูกข่มขืนที่นำไปสู่[[unintended pregnancy|การตั้งครรภ์แบบไม่พึงประสงค์]] การทำแท้งที่ถูกต้องตามกฎหมายชี้ให้เห็นสังคมที่มีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งในระดับสากลและในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา. ในประเทศส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกทำแท้งในช่วงไตรมาสแรกเป็นความผิดทางอาญาในไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา{{when|date=January 2014}} แต่มีแบบถูกกฏหมายกฎหมายจะต้องมีที่ปรึกษา ในเยอรมันในปี 2009 มีน้อยกว่า 3% ของการทำแท้งที่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
 
===การคุ้มครองทางกฎหมาย===
หลาย ๆ ประเทศมีกฎระเบียบของกฎหมายที่แตกต่างกันในการที่จะปกป้องผู้หญิงตั้งครรภ์และลูกๆของเธอ [[Maternity Protection Convention, 2000|ข้อตกลงคุ้มครองการคลอดบุตร]] เพื่อให้แน่ใจว่าหญิงตั้งครรภ์จะได้ยกเว้นจากการทำงานที่มีกะกลางคืนหรือจะต้องยกของหนัก [[Maternity leave|การลาคลอด]] มักจะมีการออกค่าใช้จ่ายจากการทำงานในช่วงประมาณไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์และบางครั้งหลังคลอด กรณีที่เด่นชัด ได้แก่ ประเทศนอร์เวย์ (ได้รับค่าจ้างเต็มจำนวนเป็นเวลา 8 เดือน) และสหรัฐอเมริกา(ไม่มีค่าใช้จ่ายที่ออกทั้งหมด แต่ยกเว้นในบางรัฐ). นอกจากนี้หลายประเทศมีกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติการตั้งครรภ์([[pregnancy discrimination]])
 
ในปี 2014, ที่อเมริการในรัฐ[[Kentucky|เคนตักกี]] ได้ผ่านกฏหมายกฎหมายที่ยอมให้อัยการเรียกเก็บเงินกับสตรีในกรณีคดีอาญาถ้าเธอนั้นเสพยาในขณะตั้งครรภ์ที่จะทำให้เกิดผลอันตรายต่อทารกในครรภ์หรือเด็กแรกเกิดที่เป็นลูกของเธอ<ref>{{cite web |url=http://www.salon.com/2014/04/30/tennessee_just_became_the_first_state_that_will_jail_women_for_their_pregnancy_outcomes/ |title=Tennessee just became the first state that will jail women for their pregnancy outcomes |author=Katie Mcdonough |date=April 30, 2014 |work=Salon |accessdate=May 5, 2014}}</ref>
 
==อ้างอิง==
บรรทัด 313:
}}
 
== ดูเพิ่ม ==
==อ่านเพิ่มเติม==
* {{cite web|title=Nutrition For The First Trimester Of Pregnancy|url=http://www.ideafit.com/fitness-library/nutrition-for-the-first-trimester-of-pregnancy|publisher=IDEA Health & Fitness Association|accessdate=9 December 2013}}
* {{cite journal|last=Bothwell|first=TH|title=Iron requirements in pregnancy and strategies to meet them|journal=The American journal of clinical nutrition|date=July 2000|volume=72|issue=1 Suppl|pages=257S–264S|pmid=10871591}}