ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พะยูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 66:
ในปี [[พ.ศ. 2554]] [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] ได้ทำพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการอนุรักษ์และการจัดการพะยูน และแหล่งที่อยู่อาศัยของพะยูนโดยครอบคลุมพื้นที่อาศัยของพะยูนทั้งหมด ระหว่าง[[กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง]] (ทช.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ/อนุสัญญาว่าด้วยชนิดพันธุ์ที่มีการเคลื่อนย้ายถิ่น โดยที่ประเทศไทยนับเป็นประเทศที่ 20 ที่ลงนามในบันทึกความเข้าใจนี้
 
มีรายงานว่า ประชากรพะยูนที่หลงเหลืออยู่มากที่สุด คือ [[ออสเตรเลีย]] มีอยู่ประมาณ 20,000 ตัว<ref>{{cite web|url=http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/life/20110630/398110/%E0%B8%9E%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9%88-240-%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B0-15-%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7.html|title= พะยูนไทยเหลือแค่240ตัวตายปีละ15ตัว|date=30 June 2011|accessdate=3 September 2014|publisher=ไทยพีบีเอสกรุงเทพธุรกิจ}}</ref> ขณะที่ในประเทศไทย สถานที่ ๆ เป็นแหล่งอาศัยแหล่งสุดท้ายของพะยูน คือ ทะเลจังหวัดตรัง โดยพบที่รอบ ๆ เกาะลิบง มากที่สุด คาดว่ามีราว 210 ตัว ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสำรวจในเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 โดยเฉพาะที่เกาะลิบงนั้นเป็นที่อาศัยของจำนวนประชากรพะยูนในประเทศมากถึงร้อยละ 60-70 ซึ่งปัจจุบันถูกคุกคามอย่างหนัก โดยมีการล่าเอาเนื้อ, กระดูก และเขี้ยวไปขายตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ มีการคำนวณว่าหากพะยูนในน่านน้ำไทยตายปีละ 5 ตัว พะยูนจะหมดไปภายใน 60 ปี <ref name="ล่า"/>
 
==ความเชื่อ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พะยูน"