ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilantorn.M (คุย | ส่วนร่วม)
ตำนานการก่อเกิดวัดพระพุทธบาท จนข้อเท็จจริงในปัจจุบัน
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 36:
'''วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร''' ตั้งอยู่ที่ [[อำเภอพระพุทธบาท]] [[จังหวัดสระบุรี]] ตาม[[พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา]]กล่าวว่า มีพระภิกษุไทยคณะหนึ่ง เดินทางไปยังลังกาทวีป เพื่อนมัสการรอยพระพุทธบาท พระสงฆ์ลังกากล่าวว่า ประเทศไทยก็มีรอยพระพุทธบาทอยู่แล้วที่เขาสุวรรณบรรพต จึงได้นำความกราบทูล[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]]ให้ทรงทราบ และได้สืบหาจนพบรอยพระพุทธบาท เพื่อเป็นที่สักการบูชา เป็นศูนย์รวมแห่งพลังศรัทธาอันยิ่งใหญ่ พระพุทธบาทสระบุรีเป็น[[พระอารามหลวง]] ที่พระมหากษัตริย์แทบทุกพระองค์ทรงทำนุบำรุงและเสด็จไปนมัสการตลอดมา ตั้งแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]จนถึง[[รัตนโกสินทร์]]
 
== ประวัติวัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร ==
== ประวัติวัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร == <ref>สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี พิมพ์แจกในงาน ทอดกฐินพระราชทานของสำนักนายกรัฐมนตรี ณ วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร (๘ พฤศิจกายน ๒๕๒๓)</ref> <ref>หนังสือที่ระลึกงานเทศกาลนมัสกาลรอยพระพุทธบาท จัดพิมพ์และเผยแพร่เป็นสถิติและรายงานประจำปี ประจำศก พุทธศักราช ๒๕๕๗</ref>
ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม แผ่นดินกรุงศรีอยุธยา ปรากฏว่า มีพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยคณะหนึ่ง เดินทางไปยังลังกาทวีป ด้วยหวังจะสักการบูชาพระพุทธบาท ณ เขาสุมนกูฏ การไปคราวนั้นเป็นเวลาที่พระสงฆ์ชาวลังกาทวีปกำลังสอบประวัติ และที่ตั้งแห่งรอยพระพุทธบาททั้งปวงตามที่ปรากฏอยู่ในตำนานว่ามีเพียง 5 แห่ง ภายหลังสืบได้ความว่า ภูเขาที่ชื่อว่า สุวรรณบรรพต มีอยู่ในสยามประเทศ ครั้นพวกเมื่อได้พบกับพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยในคราวนั้น ต่างพากันสอบถามว่ารอยพระพุทธบาท ที่มีอยู่ 5 แห่ง ในสถานที่ต่างๆ กันนั้น ปรากฏว่ามีที่เขาสุวรรณบรรพตแห่ง 1 ก็ภูเขาลูกนี้อยู่ในประเทศไทย แต่ภิกษุไทยไม่พยายามสืบไปนมัสการ กลับเข้ามาจากพากันไปถึงลังกาทวีป เมื่อพระภิกษุสงฆ์ไทยคณะนั้นได้ทูลรับคำบอกเล่า เมื่อกลับมาสู่ประเทศไทย จึงนำความขึ้นถวายสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมให้ทรงทราบ พระองค์ได้จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีตราท้องตราสั่งบรรดาหัวเมืองทั้งปวง ให้เที่ยวตรวจตรวจตราค้นดูตามภูเขาต่างๆ ว่าจะมีรอยพระพุทธบาทอยู่ ณ ที่แห่งใด ครั้งนั้น เจ้าเมืองสระบุรี สืบได้ความจากพรานนายพรานบุญว่า "มีศิลาเป็นแอ่ง มีน้ำขังอยู่ แต่พอครั้งหนึ่งออกไปล่าเนื้อในป่าใกล้เชิงเขา นกกินได้ ครั้นนายพรานบุญยิงเนื้อทรายบาดเจ็บนั้นหายหมดสิ้น นายพรานแปลกใจจึงเดินตรงเข้าไปพยายามแหวกแทรกแมกไม้รกถูกเนื้อตัวหนึ่งเจ็บลำบากหนีขึ้นไปบนไหล่เขา ซุกเข้าเชิงไม้หายไป พอบัดเดี๋ยวก็พบศิลาเป็นแอ่งมีน้ำขังอยู่ นายพรานจึงตักน้ำมากิน พร้อมกับวักขึ้นลูบตามเห็นเนื้อตัวนั้น นายพรานวิ่งออกจากเชิงไม้เป็นเกลื้อนกลากก็พลันหายหมดสิ้นปกติอย่างเก่า นายพรานเห็นบุญนึกประหลาดอยู่ใจ จึงวิดน้ำเสียให้แห้งตามขึ้นไปดูสถานที่บนไหล่เขาที่เนื้อหนีขึ้นไป แล้วก็เห็นพระ (ลาย ) ลักษณะสำคัญว่าเป็นรอยคนโบราณ พบรอยปรากฏอยู่ในศิลา มีลักษณะเหมือนรูป รอยเท้าคน ขนาดยาวประมาณสักศอกเศษ และ ในรอยนั้นมีน้ำขังอยู่ด้วย นายพรานบุญเข้าใจ ว่าบาดแผลของเนื้อตัวที่ถูกตนยิง คงหายเพราะดื่มน้ำในรอยนั้น จึงวักน้ำลองเอามาทาตัวดู บรรดาโรคผิวหนังคือ กลากเกลื้อน ซึ่งเป็นเรื้อรังมาช้านานแล้ว ก็หายหมดสิ้นไป เจ้าเมืองสระบุรี จึงสอบสวนความจริงดู ก็ตรวจค้นพบรอยนั้น สมดังคำบอกเล่าของนายพรานบุญ เจ้าเมืองสระบุรีจึงมีใบบอกเข้ามายังกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๑๖๗ สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงดีพระทัย เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตร โดยเสด็จทรงชลมารคจอดเรือพระที่นั่ง ณ สถานที่เรียกว่า ท่าเรือ (คือที่ว่าการอำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน) เมื่อเสด็จงมีใบบอกแจ้งเรื่องเข้ามายังกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จึงเสด็จพระราชดำเนินขึ้นไป นายพรานบุญเป็นมัคคุเทศก์ นำลัดตัดตรงไปถึงเชิงเขา ณ ที่เขานั้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรเห็นรอยนั้นแล้ว จึงทรงพระราชวิจารณ์ตระหนักแน่ในพระราชหฤทัยว่าคงเป็นรอยพระพุทธบาท เพราะมีลายลักษณ์กงจักร ประกอบด้วยอัฏฐุตตรสตมหามงคลร้อยแปดประการสมด้วยพระบาลี ตรงกับเรื่องทีชาวลังกาทวีปแจ้งเข้ามาด้วยว่า กรุงศรีอยุธยามีรอยพระพุทธบาทอยู่เหนือยอดเขาสุวรรณบรรพต เกิดพระราชศรัทธาปราโมทย์โสมนัสถวายทศนัขเหนืออุตมาคศิโตรม์ด้วยเบญจาคงปรดิษฐ์เป็นหลายครากระทำการบูชาด้วยธูปเทียคันธรสจะนับมิได้กำลัง ทั้งท้าวพระยาเสนาบดีกวีราชนักราชญ์บัณฑิตชาติทั้งหลายก็ถวายบังคมประณตน้อมเกล้าด้วยเบญจาคประดิษฐ์ ต่างคนมีจิตโสมนัสปราโมทย์ยิ่งนัก กระทำการสัการะบูชาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อุทิศถวายพนาสณฑ์เป็นบริเวณออกไปโยชน์หนึ่งโดยรอบ แล้วทรงพระราชดำริเห็นว่ารอยพระพุทธบาทย่อมจัดเป็นบริโภคเจดีย์แท้ เพราะเป็นพุทธบทวลัญช์อันเนื่องมาแต่พระพุทธองค์ ย่อมประเสริฐยิ่งกว่าอุเทสิกเจดีย์ เช่น พระสถูปเจดีย์ สมควรจะยกย่องบูชาเป็นพระมหาเจดียสถาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ช่างก่อเป็นคฤหหลังน้อย สวมรอยพระพุทธบาทไว้เป็นการชั่วคราวก่อนแล้ว ครั้นเสด็จพระราชดำเนินกลับมายังราชธานี จึงทรงสถาปนายกที่พระพุทธบาทขึ้นเป็นเจดียสถานเป็นการสำคัญ ทรงพระกรุณาตรัสสั่งให้ช่างจัดการสถาปนาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระมณฑปยอดเดี่ยวสวมรอยพระพุทธบาทกำหนดเป็นพุทธเจดีย์ และสร้างอารามวัตถุอื่นๆ เช่น พระอุโบสถ พระวิหารการเปรียญ ตึกกว้านกถฏีสงฆ์เป็นอเนกานุประการ แล้วให้ฝรั่งส่องกล้องตัดทางสถลมารคกว้างสิบวา ตรงตลอดถึงท่าเรือให้แผ้วถางทุบปราบให้ราบรื่นเป็นถนนหลวงเสร็จ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จกลับท่าเรือ ทรงที่สำหรับพระกรุณาสั่งให้ตั้งพระราชนิเวศน์ ตำหนักฟากตะวันออกให้ชื่อ พระตำหนักท่าเจ้าสนุก ทรงพระกรุณาเร่งรัดให้ช่างสร้างมณฑปพระพุทธบาทและอาวานบริเวณทั้งปวง สี่ปีจึงสำเร็จ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นไปทำการฉลองมีงานมหารสพสมโภช ๗ วัน แล้วเสด็จกลับยังกรุงศรีอยุธยาภิกษุอยู่แรม เพื่อทำการบริบาลพระพุทธบาท ทรงพระราชศรัทธาอุทิศเนื้อที่โยชน์หนึ่ง โดยรอบรอยพระพุทธบาทถวายเป็นพุทธเกษตรต่างพุทธบูชา บรรดากัลปนาผล ซึ่งได้เป็นส่วนของหลวงจากเนื้อที่นั้นให้ใช้จ่ายเป็นค่าบำรุงรักษาพระมหาเจดียสถานที่พระพุทธบาท ทรงยกที่พุทธเกษตรส่วนนี้ให้เป็นเมืองชั้นจัตวา ชื่อเมืองปรันตปะ แต่นามสามัญเรียกกันว่า เมืองพระพุทธบาท ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา โปรดเกล้าฯ ให้ชายฉกรรจ์ทุกคนที่ตั้งภูมิลำเนาอยู่ในเขตที่พระพุทธบาทพ้นจากหน้าที่ราชการอย่างอื่นสิ้น ตั้งให้เป็นพวกขุนโขลนเป็นข้าปฏิบัติบูชารักษาพระพุทธบาทแต่หน้าที่เดียว พระราชทานราชทินนามบรรดาศักดิ์ประจำตำแหน่งผู้รักษาการพระพุทธบาท หัวหน้าเป็นที่ขุนสัจจพันธ์คีรีรัตนไพรวัน เจติยาสันคามวาสี นพคูหาพนมโขลน รองลงมาเป็นที่หมื่นสุวรรณปราสาท หมื่นแผ้วอากาศ หมื่นชินธาตุ หมื่นศรีสัปบุรุษ ทั้ง 4 คนนี้ เป็นผู้รักษาเฉพาะองค์พระมณฑป ตั้งนายทวารบาล 4 นาย เป็นที่หมื่นราชบำนาญทมุนิน หมื่นอินทรรักษา หมื่นบูชาเจดีย์ หมื่นศรีพุทธบาล โปรดเกล้าฯ ให้สร้างคลังสำหรับเก็บวัตถุสิ่งของที่มีผู้นำมาถวายเป็นพุทธบูชา ให้ผู้รักษาคลังเป็นที่ขุนอินทรพิทักษ์ ขุนพรหมรักษา หมื่นพิทักษ์สมบัติ หมื่นพิทักษ์รักษา ให้มีผู้ประโคมยามประจำทั้งกลางวันกลางคืนเป็นพุทธบูชา ตั้งเป็นที่หมื่นสนั่นไพเราะ หมื่นเสนาะเวหา พันเสนาะ รองเสนาะ ทรงกำหนดเทศกาลสำหรับให้มหาชนขึ้นไปบูชารอยพระพุทธบาทเดือน 3 ครั้ง 1 และเดือน 4 ครั้ง 1 เป็นประเพณีตั้งแต่นั้นมา
'''ชั้นและตำบลที่ตั้งวัด'''
วัดพระพุทธบาท เป็นอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ ณ ตำบลขุนโขลย อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี วัดนี้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๑๖๗ สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ผู้สร้าง สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นไว้ มูลเหตุที่จะทรงโปรดให้สร้างวัดนี้ เพราะสืบเนื่องมาจากพระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นรอยพระพุทธบาทประดิษฐาน ณ ที่ตรงนั้น ทรงพระเจริญพระราชศรัทธาเลื่อมใสยิ่งนัก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ช่างก่อเป็นคฤห์ (เรือนน้อย) สวมรอยพระพุทธบาทไว้เป็นการช่วยคราวก่อน ภายหลังจากได้เสด็จพระราชดำเนินกลับถึงราชธานี จึงเริ่มงานสถาปนายกสถานที่พระพุทธบาทนั้นขึ้นเป็นพระมหาเจดียสถานและโปรดให้สร้างพระมหามณฑปครอบรอยพระพุทธบาท พร้อมกับโปรดให้เจ้าพนักงานสร้างพระอาราม สำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่อาศัยเป็นประจำ เพื่อดูแลรักษาพระมหาเจดียสถานพร้อมกับบำเพ็ญสมณธรรมสืบไป
ปัจจุบันนี้ บริเวณพระอารามซึ่งกว้่างขวางไหญ่โต ได้แบ่งออกเป็นสองเขตเพื่อควรามสะดวกในการดูแลรักษา คือเขตพุทธาวาสเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาท พระอุโบสถและปูชนียสถานอื่นๆ ที่อยู่บนไหล่เขาตลอดลงมาถึงเนินเขา เขตสังฆาวาสเป็นที่อยู่จำพรรษาของพระภิกษุสามเณร มวลหมู่กุฎีพร้อมทั้งศาลาการเปรียญตั้งอยู่ที่บริเวณพื้นดินติดกับเขตพุทธาวาส ทั้งสองเขตมีกำแพงล้อมรอบเป็นสัดส่วน มีถนนคั่นกลางระหว่างเขต เพราะเหตุว่าวัดนี้เป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท จึงได้รับประราชทานมาแต่เดินมว่า "วัดพระพุทธบาท" แต่ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกสั้นๆ ว่า "วัดพระบาท"
สำหรับตำนานพระพุทธบาทนี้ มีปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนากล่าวได้ในปุณโณวาทสูตรพร้อมทั้งมีอรรถกถาขยายคยวามของพระสูตรนี้ออกไปอีกมากมาย ล้วนกล่าวเป็นทำนองปาฏิหาริย์เป็นส่วนใหญ่ แต่ทว่าเป็นเรื่องที่น่ารู้น่าศึกษา จึงขอนำมาเล่าไว้ ณ ที่นี้โดยย่อพอได้ใจความดังต่อไปนี้ ในความว่า ได้มีตำบลๆ หนึ่ง ชื่อ สุนาปรันตปะ ในตำบลนี้มีพ่อค้าอยู่ ๒ คน เป็นพี่น้องกัน คนผู้พี่ชื่อมหาบุณ คนผู้น้องชื่อจุลบุณ พี่น้องทั้งสองนี้ผลัดเปลี่ยนกันไปค้าขาย เมื่อนายมหาบุณไปค้าขายจุลบุณอยู่รักษาบ้าน บางทีนายจุลบุณไปค้าขาย นายมหาบุณเป็นผู้อยู่รักษาบ้าน ครั้้งหนึ่ง นายมหาบุณขนสินค้าขึ้นบรรทุกเกวียน ๕๐๐ เล่ม เสร็จแล้ว ก็พาบริษัทของตนออกจากบ้านไปสู่ชนบทน้อยใหญ่ โดยลำดับจนบรรลุถึงกรุงสาวัตถี จึงได้หยุดเกวียน ๕๐๐ เล่ม อยู่ในแถบใกล้พระเชตวัน พอเวลาเช้าชาวกรุงสาวัตถีต่างคนต่างคือเครื่องสักการบูชาต่างๆ พากันไปสู่พระเชตวันเพื่อจะฟังพระธรรมเทศนา ส่วนนายมหาบุณได้เห็นชนทั้งหลาย จึงไถ่ถามชนทั้งปวง ชนทั้งปวงตอบว่า พระพุทธ พระธรรมท พรงสงฆ์ บังเกิดขึ้นในโลกแล้ว แท้ที่จริงจะเป็นอุปนิสัยของนายมหาบุณ จะได้สำเร็จพระอรหันต์ในชาตินี้ เมื่อนายมหาบุณได้ฟังมหาชนบอกว่าพระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้น ก็มีความยินดีเป็นกำลัง แล้วไปสู่พระเชตวันกับชนทั้งปวง ในเวลานั้น พระพุทธเจ้ากำลังตรัสพระธรรมเทศนาอยู่ในวิหาร นายมหาบุณก็น้อมเกล้าลงนมัสการ แล้วนั่งฟังพระธรรมเทศนาอยู่ในที่สุดบริษัท เมื่อจบพระธรรมเทศนาลง ชนทั้งหลายถวายนมัสการลาไปแล้ว ส่วนนายมหาบุณก็กราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้ากับประภิกษุสงฆ์ไปฉันยังที่พักเกวียนของตน เวลารุ่งเช้าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์เสด็จไปรับอาหารบิณฑบาต ณ ที่พักเกวียนกับสิ่งของทั้งปวงแก่นายบัญชีให้นำไปให้แก่จุลบุณผู้น้องชาย และบอกว่าตนจะบวชอยู่ในสำนักพระพุทธเจ้า และนายมหาบุณเข้าไปยังพระเชตวันขอบวชต่อพระพุทธเจ้า ครั้นได้บวชสำเร็จก็ขอเรียนพระกรรมฐาน เมื่อเรียนพระกรรมฐานได้แล้ว ก็กราบทูลลาพระพุทธเจ้าไปเที่ยวเจริญสมณธรรมอีกหลายแห่ง แต่ยังมิได้บรรลุมรรผล ต่อมาพระมหาบุณได้ไปจำพรรษาอยู่ในมกุลการาม เจริญพระกรรมฐาน จึงได้สำเร็จพระอรหันต์ในที่นั้น ครั้นเวลาเช้าวันหนึ่งพระมหาบุณเถระเข้าไปบิณฑบาตในบ้านสุนาปรันตะ นายจุลบุณจำได้จึงอาราธนาให้ไปฉัน ณ เรือน แล้วอาราธนาให้จำพรรษาอยู่ ณ พระวิหารอันมีอยู่แถบใกล้วาณิชคาม แต่เวลานั้นเป็นฤดูฝน พ่อค้าในวาณิชคามไปค้าขายทางบกไม่ได้ พ่อค้าทั้ง ๕๐๐ กับนายจุลบุณก็แต่งสำเภาและสินค้าลงบรรทุกเพื่อไปขาย เมื่อวันจะลงสู่สำเภา นายจุลบุณให้อารานาประมหาบุณลงไปฉันในท้ายเภตร นายจุลบุณขอสมาทานศีล ๕ และขอให้พระมหาบุณพิจารณาอยู่เนืองๆ ในระหว่างเดินทาง ถ้ามีเหตุภัยสิ่งใดให้ไปช่วย พระมหาบุณก็รับจะเป็นธุระและพิจารณาอยู่เนืองๆ แล้วพระมหาบุณกลับมาสู่พระวิหาร
ครั้นได้เวลาสำเภาก็แล่นไป แล่นไปได้ ๗ วันถึงเกาะแห่งหนึ่งก็พอสิ้นเสบียงจึงได้ทอดสมอลงไป พากันขึ้นไปบนเกาะเพื่อหาฟืนและผัก ในเกาะนั้นมีไม้จันทน์แดงเป็นอันมาก ชาวสำเภาก็ชวนกันถากฟันต้นไม้ ด้วยคิดว่าจะทำฟืน จึงไม่รู้ว่าไม้จันทน์แดงเป็นของที่มีค่ามากกว่าสินค้าในสำเภา พ่อค้าทั้งหลายก็ชวนกันขนสินค้าในสำเภาทุ่มทิ้งเสียสิ้น ตัดไม้จันทน์แดงบรรทุกลงแทนสินค้าทั้งปวงพอสำเภาทั้งหมดแล่นออกลุไปถึงกลางทาง ห่างจากเกาะก็ประสบมรสุมเกิดมีลมพายุแรง ทำให้เกิดคลื่นใหญ่ สำเภาทั้งหลายก็หันเหประหนึ่งว่าจะจมลง บรรดาชาวสำเภาทั้งปวงก็พากันบวงสรวงบนบานแก่เทพยาดาอารักษ์อันตนนับถือ แต่นายจุลบุณผู้เดียวระลึกถึงพระมหาบุณผู้พี่ซึ่งได้รับคำสัญญาไว้จึงยกมือขึ้นนมัสการ แล้วกล่าวขอให้พระผู้เป็นเจ้ามาช่วยชีวิตข้าพเจ้าในครั้งนี้ด้วยเถิด
ขณะนั้น พระมหาบุณทราบด้วยทิพจักษุญาณ แล้วก็บันดาลให้นายจุลบุณเห็นตนแต่ผู้เดียวแล้วอธิษฐานให้สำเภาทั้งปวงกลับมาสู่วาณิชคามได้ด้วยง่ายไม่มีอันตราย พ่อค้าทั้งหลาย ก็ชวนกันไปประชุมที่บ้านนายจุลบุณ นายจุลบุณจึงถามพ่อค้าทั้งหลายว่า เราได้รอดชีวิตมาครั้งนี้ใครรู้อย่างไรบ้าง ฝ่ายพ่อค้าทั้งปวงจึงตอบว่า พวกเราทั้งปวงได้กลับมาก็เพราะเทพรักษ์อันได้รับเครื่องบนบานของเราช่วย นายจุลบุฯจึงพูดว่าไม่ใช่ดอก เมื่อสำเภาจะแตกเราได้เห็นพระมหาบุณออกไปช่วยเราต่างหากเราจึงได้รอดชีวิตมา ฝ่ายพ่อค้าทั้งหลายเมื่อได้ฟังนายจุลบุณกล่าวดังนั้น ก็เห็นพร้อมกันทั้งนั้นแล้วนายจุลบุณก็พาพ่อค้าเหล่านั้นไปสู่อารามพระมหาบุณ ครั้นถึง นายจุลบุณจึงพูดกับพ่อค้าว่า เราจะเอาไม้จันทน์แดงที่เราได้มาให้แก่พระมหาบุณบ้างใครจะเห็นเป็นอย่างไร
พ่อค้าทั้งหลายก็พร้อมใจกันแบ่งส่วนไม้จันทน์แดงถวายพระมหาบุณ เพราะคิดถึงคุณท่านเป็นอันมาก พระมหาบุณว่าดีแล้ว แต่เราไม่ต้องการไม้จันทน์แดง เราจะไปอาราธนาพระพุทธเจ้ามาให้ท่านทั้งปวงสักการบูชา ท่านจะเป็นเป็นอย่างไร
ฝ่ายวาณิชคามเมื่อได้ฟังก็มีความยินดี จึงพร้อมใจกัน พระมหาบุณก็ใให้ชนทั้งหลายแต่งมณฑป ๕๐๐ ล้วนแล้วด้วยไม้จันทน์แดง และพระมหาบุณก็ไปสู่พระเชตวัน ถวายนมัสการพระพุทธเจ้าแล้วกราบทูลอาราธนาว่า บัดนี้ มหาชนชาวบ้านสุนาปรันตปะมีใจศรัทธา จะใคร่ถวายนมัสการกระทำการสักการบูชาแก่พระผู้มีพระภาค ขออาราธนาพระพุทธองค์เสด็จไปกับพระภิกษุสงฆ์ทั้ง ๕๐๐ รูป
พระพุทธเจ้ารับอาราธนาแล้ว ก็พิจารณาอุปนิสัยจัจจพันธดาบสอันอยู่เหนือเขาสัจจพันธ์คีรี พระองค์ตรัสส่งพระอานนท์ให้เผดียงสงฆ์ ๔๙๙ องค์ ครั้นเวลารุ่งเช้า พระตถาคตพร้อมกับพระสงฆ์สาวก ๔๙๙ รูป เสด็จออกจากพระเชตวันบ่ายพระพักตร์ไปยังบ้านสุนาปรันตปะ ระหว่างทางได้เสด็จประทับ ณ เขาสัจจพันธคีรีอันเป็นที่อยู่อาศัยของสัจจพันธดาบส จึงได้พบสัจจพันธดาบสก็ทรงตรัสพระธรรมเทศนาโปรดจนสัจจพันธดาบสได้บรรลุมรรคผลแล้วให้บรรพชาอุปสมบท พระพุทธองค์ทรงให้พระสัจจพันธภิกษุตามเสด็จออกจากเขาสัจจพันธคีรี โดยลำดับจนถึงบ้านสำนาปรันตปะ ประทับ ณ มณฑปไม้จันทน์แดงที่พวกพ่อค้าสร้างถวาย และได้แสดงพระธรรมเทศนาโปรดอยู่นานวัน จึงเสด็จกลับยังกรุงสาวัตถี ครั้นผ่านเขาสัจจพันธคีรีที่อยู่ของพระสัจจพันธ์จึงทูลขอให้พระพุทธองค์ทรงเหยียบรอยพระบาทไว้ ณ ที่ตำบลนั้น เพื่อเป็นเครื่องแสดงว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จมาแล้วพระพุทธองค์จึงทรงอธิษฐานแล้วทรงเหยียบรอยพระบาทให้ปรากฏไว้ตามความประงค์ของพระสัจจพัน์ ร้อยพระพุทธบาท จึงปรากฏอยู่ที่ไหล่เขาสัจพันธคีรี หรือเขาสุวรรณบรรพต ซึ่งประดิษฐานอยุ่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงศรีอยุธยา มาตั้งแต่บัดนั้น
กาลเวลาล่วงเลยไป บ้านเมืองก็เปลี่ยนแปลงไป สถานที่ๆ เคยจำเริญรุ่งเรืองก็หลายเป็นที่รตกร้างว่างปล่า คนแก่ก็ตายไปคนใหม่ก็เกิดมา สถานที่หรือของดีที่มีอยู่ก็พากันเลอะเลือนหลงลืมเสีย นานเข้าก็ไม่ทราบว่าสถานที่และของดีอะไรๆ อยู่ที่ตรงไหนบ้าง จวบจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๖๓-๒๑๗๑) ได้มีพระภิกษุไทยพากันไปนมัสการพระพุทธบาท ณ เขาสุมนกูฏในลังกาทวีป และได้ทราบจากทางลังกาว่า
"ฝ่าพระบาทมีอยู่ ณ กระงศรีอยุธยา ประดิษฐานอยู่บนไหล่เขาสุวรรณบรรพต ข้างทิศอุดรสถิตเหนือกรุงศรีอยุธยา"
ครั้นพวกพระภิกษุไทยกลับเข้ามาจากลังกา ได้ทูลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมให้ทรงทราบ พระองค์ได้โปรดให้มีตราสั่งหัวเมืองให้เที่ยวตรวจดูตามภูเขา เจ้าเมืองสระบุรีได้ความจากพรานบุญว่า "มีศิลาเป็นแอ่ง มีน้ำขังอยู่ แต่พอเนื้อ นกกินได้ ครั้นนายพรานบุญยิงเนื้อทรายบาดเจ็บนั้นหายหมดสิ้น นายพรานแปลกใจจึงเดินตรงเข้าไปพยายามแหวกแทรกแมกไม้รกขึ้นบนไหล่เขา ก็พบศิลาเป็นแอ่งมีน้ำขังอยู่ นายพรานจึงตักน้ำมากิน พร้อมกับวักขึ้นลูบตามเนื้อตัว นายพรานเป็นเกลื้อนกลากก็พลันหายหมดสิ้น นายพรานเห็นประหลาดอยู่ จึงวิดน้ำเสียให้แห้ง แล้วก็เห็นพระ (ลาย ) ลักษณะสำคัญว่าเป็นรอยคนโบราณ พบรอยปรากฏอยู่ในศิลา มีลักษณะเหมือนรูป รอยเท้าคน ขนาดยาวประมาณสักศอกเศษ และ ในรอยนั้นมีน้ำขังอยู่ด้วย นายพรานบุญเข้าใจ ว่าบาดแผลของเนื้อตัวที่ถูกตนยิง คงหายเพราะดื่มน้ำในรอยนั้น จึงวักน้ำลองเอามาทาตัวดู บรรดาโรคผิวหนังคือ กลากเกลื้อน ซึ่งเป็นเรื้อรังมาช้านานแล้ว ก็หายหมดสิ้นไป เจ้าเมืองสระบุรี จึงสอบสวนความจริงดู ก็ตรวจค้นพบรอยนั้น สมดังคำบอกเล่าของนายพรานบุญ เจ้าเมืองสระบุรีจึงมีใบบอกเข้ามายังกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๑๖๗ สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงดีพระทัย เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตร โดยเสด็จทรงชลมารคจอดเรือพระที่นั่ง ณ สถานที่เรียกว่า ท่าเรือ (คือที่ว่าการอำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน) เมื่อเสด็จงมีใบบอกแจ้งเรื่องเข้ามายังกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จึงเสด็จพระราชดำเนินขึ้นไป นายพรานบุญเป็นมัคคุเทศก์ นำลัดตัดตรงไปถึงเชิงเขา ณ ที่เขานั้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรเห็นรอยนั้นแล้ว จึงทรงพระราชวิจารณ์ตระหนักแน่ในพระราชหฤทัยว่าคงเป็นรอยพระพุทธบาท เพราะมีลายลักษณ์กงจักร ประกอบด้วยอัฏฐุตตรสตมหามงคลร้อยแปดประการสมด้วยพระบาลี ตรงกับเรื่องทีชาวลังกาทวีปแจ้งเข้ามาด้วยว่า กรุงศรีอยุธยามีรอยพระพุทธบาทอยู่เหนือยอดเขาสุวรรณบรรพต เกิดพระราชศรัทธาปราโมทย์โสมนัสถวายทศนัขเหนืออุตมาคศิโตรม์ด้วยเบญจาคงปรดิษฐ์เป็นหลายครากระทำการบูชาด้วยธูปเทียคันธรสจะนับมิได้ ทั้งท้าวพระยาเสนาบดีกวีราชนักราชญ์บัณฑิตชาติทั้งหลายก็ถวายบังคมประณตน้อมเกล้าด้วยเบญจาคประดิษฐ์ ต่างคนมีจิตโสมนัสปราโมทย์ยิ่งนัก กระทำการสัการะบูชาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อุทิศถวายพนาสณฑ์เป็นบริเวณออกไปโยชน์หนึ่งโดยรอบ แล้วทรงพระราชดำริเห็นว่ารอยพระพุทธบาทย่อมจัดเป็นบริโภคเจดีย์แท้ เพราะเป็นพุทธบทวลัญช์อันเนื่องมาแต่พระพุทธองค์ ย่อมประเสริฐยิ่งกว่าอุเทสิกเจดีย์ เช่น พระสถูปเจดีย์ สมควรจะยกย่องบูชาเป็นพระมหาเจดียสถาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ช่างก่อเป็นคฤหหลังน้อย สวมรอยพระพุทธบาทไว้เป็นการชั่วคราวก่อนแล้ว ครั้นเสด็จพระราชดำเนินกลับมายังราชธานี จึงทรงสถาปนายกที่พระพุทธบาทขึ้นเป็นเจดียสถานเป็นการสำคัญ ทรงพระกรุณาตรัสสั่งให้ช่างจัดการสถาปนาให้สร้างพระมณฑปยอดเดี่ยวสวมรอยพระพุทธบาทกำหนดเป็นพุทธเจดีย์ และสร้างอารามวัตถุอื่นๆ เช่น พระอุโบสถ พระวิหารการเปรียญ ตึกกว้านกถฏีสงฆ์เป็นอเนกานุประการ แล้วให้ฝรั่งส่องกล้องตัดทางสถลมารคกว้างสิบวา ตรงตลอดถึงท่าเรือให้แผ้วถางทุบปราบให้ราบรื่นเป็นถนนหลวงเสร็จ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จกลับท่าเรือ ทรงพระกรุณาสั่งให้ตั้งพระราชนิเวศน์ ตำหนักฟากตะวันออกให้ชื่อ พระตำหนักท่าเจ้าสนุก ทรงพระกรุณาเร่งรัดให้ช่างสร้างมณฑปพระพุทธบาทและอาวานบริเวณทั้งปวง สี่ปีจึงสำเร็จ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นไปทำการฉลองมีงานมหารสพสมโภช ๗ วัน แล้วเสด็จกลับยังกรุงศรีอยุธยา เพื่อทำการบริบาลพระพุทธบาท ทรงพระราชศรัทธาอุทิศเนื้อที่โยชน์หนึ่ง โดยรอบรอยพระพุทธบาทถวายเป็นพุทธเกษตรต่างพุทธบูชา บรรดากัลปนาผล ซึ่งได้เป็นส่วนของหลวงจากเนื้อที่นั้นให้ใช้จ่ายเป็นค่าบำรุงรักษาพระมหาเจดียสถานที่พระพุทธบาท ทรงยกที่พุทธเกษตรส่วนนี้ให้เป็นเมืองชั้นจัตวา ชื่อเมืองปรันตปะ แต่นามสามัญเรียกกันว่า เมืองพระพุทธบาท ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา โปรดเกล้าฯ ให้ชายฉกรรจ์ทุกคนที่ตั้งภูมิลำเนาอยู่ในเขตที่พระพุทธบาทพ้นจากหน้าที่ราชการอย่างอื่นสิ้น ตั้งให้เป็นพวกขุนโขลนเป็นข้าปฏิบัติบูชารักษาพระพุทธบาทแต่หน้าที่เดียว พระราชทานราชทินนามบรรดาศักดิ์ประจำตำแหน่งผู้รักษาการพระพุทธบาท หัวหน้าเป็นที่ขุนสัจจพันธ์คีรีรัตนไพรวัน เจติยาสันคามวาสี นพคูหาพนมโขลน รองลงมาเป็นที่หมื่นสุวรรณปราสาท หมื่นแผ้วอากาศ หมื่นชินธาตุ หมื่นศรีสัปบุรุษ ทั้ง 4 คนนี้ เป็นผู้รักษาเฉพาะองค์พระมณฑป ตั้งนายทวารบาล 4 นาย เป็นที่หมื่นราชบำนาญทมุนิน หมื่นอินทรรักษา หมื่นบูชาเจดีย์ หมื่นศรีพุทธบาล โปรดเกล้าฯ ให้สร้างคลังสำหรับเก็บวัตถุสิ่งของที่มีผู้นำมาถวายเป็นพุทธบูชา ให้ผู้รักษาคลังเป็นที่ขุนอินทรพิทักษ์ ขุนพรหมรักษา หมื่นพิทักษ์สมบัติ หมื่นพิทักษ์รักษา ให้มีผู้ประโคมยามประจำทั้งกลางวันกลางคืนเป็นพุทธบูชา ตั้งเป็นที่หมื่นสนั่นไพเราะ หมื่นเสนาะเวหา พันเสนาะ รองเสนาะ ทรงกำหนดเทศกาลสำหรับให้มหาชนขึ้นไปบูชารอยพระพุทธบาทเดือน 3 ครั้ง 1 และเดือน 4 ครั้ง 1 เป็นประเพณีตั้งแต่นั้นมา
ในรัชกาลต่อๆ มา ก็ทรงรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีการปฏิสังขรณ์พร้อมทั้งโปรดสถาปนาวัตถุสถานเพิ่มเติมขึ้นเอีกเป็นจำนวนมาก เช่นในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, พระเจ้าเสือ, พระเจ้าท้ายสระ และสมเด็จพระเจ้าบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยา ตลอดจนพระมหากษัตรย์ราชวงศ์จักรีในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ทุกๆ พระองค์ ได้ทรงโปรดให้มีการปฏิสังขรซ่อมแซมทะนุบำรุงเป็นอย่างดีตลอดมาทุกๆ รัชกาล แม้ในยุครัชกาลปัจจุบันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภฺมพลอดุลยเดช ก็โปรดมีพระราชศรัทธาเลื่อมใสเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพระราชพิธียกพระจุลมงกุฎยอดพระมณฑป ซึ่งไดท้ทรงสร้างขึเ้นใหม่เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๕ พร้อมกับการทรงเปิดพระบรมราชานุสรณ์พระเจ้าทรงธรรม เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๐๓ อีกครั้งหนึ่ง
สรุปแล้ว จะเห็นได้ว่า วัดพระพุทธบาทนี้เป็นปูชนีววัตถุสถานที่สำคัญแห่งหนึ่ง บรรดาเท่าที่มีอยู่ในประเทศไทย เป็นสมบัติของชาติและของศาสนา เป็นปูชนียวัตถุล้ำค่า ในการประชุมฝีมือช่างทางศิลปกรรม แต่ละสมัยรวมเข้าไว้ ณ สถานที่นี้อย่างพร้อมมูล เป็นของน่าดูน่าชม นอกจากนั้นยังมีสิ่งแวดล้อมที่งดงามตามธรรมชาติ เช่น ภูเขา แมกไม้ ถ้า ลำธาร ตลอดจนโบราณสถานที่มีอยู่ในเขตคพระพุทธบาทอีกเป็นอันมาก เพราะฉะนั้นวัดพระพุทธบาทจึงเป็นที่เคารพสักการะของพุทธบริษัททั่วไป มิใช่แต่ชาวไทยและจีนเท่านั้นไม่ แม้ชาวต่างประเทศหากเข้ามาสู่ประเทศไทยแล้ว เขาเหล่านั้นมักจะถือโอกาสไปแวะชมอยู่เสมอ ดังจะเห็นได้ในคราวเทศกาลทุกๆ ปี
 
== การเดินทาง ==
เส้น 62 ⟶ 49:
* [[โคลงนิราศพระพุทธบาท]]
* [[ปุณโณวาทคำฉันท์]]
หนังสือที่ระลึก งานเทศกาลนมัสการพระพุทธบาท วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร จังหวัดสระบุรี
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==