ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูเขาไฟกรากะตัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บทความที่ยกขึ้นมาลอยๆจากเว็บ ปราศจากหลักฐานที่มาของบทความ ว่าเป็นบทความที่มีอยู่จริง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
[[ภาพ:Indonesia, Sunda Straits.jpg|thumb|ภูเขาไฟกรากะตัวระหว่างการปะทุในปี ค.ศ. 2008]]
[[ไฟล์:Krakatoa evolution map-en.gif|thumb|การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่รอบเกาะกรากะตัว]]
เส้น 5 ⟶ 4:
 
== ประวัติ ==
ในอดีตพื้นที่ระหว่าง[[เกาะชวา]]กับ[[เกาะสุมาตรา]]เป็นทะเล ต่อมา เมื่อประมาณ 1,000,000 ปีก่อน เปลือกโลกบริเวณนี้ได้แยกตัวออก ส่งผลให้แมกมาและธาตุ[[ภูเขาไฟ]]จำนวนมากถูกพ่นออกมา และต่อมาแมกมาก็เย็นลงจับตัวกันเป็นภูเขาใต้น้ำ หลายหมื่นปีต่อมา ธาตุภูเขาไฟเริ่มเย็นตัวลง และจับตัวแข็งอยู่ใต้ทะเลเหนือภูเขาใต้น้ำเหล่านั้น และก็เกิดการทับถมอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นเกาะพ้นน้ำขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับเกาะชวากับเกาะสุมาตรา แต่เป็นเกาะที่ไม่แข็งแรง จึงค่อยๆสึกกร่อนไป จนเหลือเฉพาะบริเวณที่แข็งแรง กลายเป็นเกาะขนาดเล็กหลายเกาะ และมีเกาะจำนวนมากที่มีภูเขาไฟ<ref>{{cite web| url=http://www.volcano.si.edu/world/region.cfm?rnum=06&rpage=list| title=Volcanoes of Indonesia| publisher=[[Smithsonian Institution]]| accessdate=25 March 2007| work=Global Volcanism Program}}</ref>
 
เกาะกรากะตัว เป็นเกาะที่มีแนวเส้นภูเขาไฟพาดผ่านใจกลางเกาะ ยอดปล่องภูเขาไฟที่สูงที่สุดในเกาะมีความสูง 820 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง หินภูเขาไฟและธาตุภูเขาไฟที่ให้เป็นเกาะที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะต่อการเกษตรกรรม เกาะแห่งนี้เริ่มมีมนุษย์มาตั้งถิ่นฐานอยู่เมื่อประมาณ3000ปีก่อนคริสตกาล มนุษย์กลุ่มแรกๆคือเกษตรกรที่มาทดลองถางป่าที่เกาะนี้เพื่อปลูกข้าวและพืชผลอื่นๆแล้วได้ผลเป็นที่น่าพอใจ จึงตั้งรกรากอาศัยอยู่บนเกาะ เกาะนี้อยู่ไม่ไกลจากเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะใหญ่ทางตะวันตกของอินโดนีเซีย ทำให้มีผู้คนมาตั้งรกรากมากขึ้น จนเกาะแห่งนี้กลายเป็นเมืองแห่งหนึ่ง
 
ภูเขาไฟกรากะตัวที่ตั้งอยู่บนเกาะได้มีการระเบิดเล็กๆน้อยๆหลายครั้ง แต่การระเบิดได้พ่นแร่ธาตุออกมาทำให้เกาะอุดมสมบูรณ์ขึ้น ชาวบ้านจึงไม่ได้ตระหนักถึงภัยอันตรายของภูเขาไฟระเบิดการระเบิดครั้งสุดท้ายก่อนจะเกิดการระเบิดครั้งใหญ่เกิดขึ้นใน [[พ.ศ. 2224]] (ค.ศ. 1681) <ref>Note: Vogel returned to Amsterdam in 1688 and published the first edition of his journal in 1690.</ref>หลังจากนั้น กรากะตัวก็สงบไปนานกว่า 200 ปี
 
== การระเบิดครั้งรุนแรง ==
วันที่ [[20 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2426]] (ค.ศ. 1883) ภูเขาไฟกรากะตัวได้ระเบิดรุนแรงเกิดเป็นเสียงระเบิดดังรุนแรง เถ้าถ่านควันไฟอีกจำนวนมากถูกพ่นออกมา ผู้คนประหลาดใจมากที่เห็นภูเขาไฟที่เงียบสงบมานานเกิดระเบิดขึ้น แต่ต่อมาเหตุการณ์นี้ค่อยๆสงบลง และหลังจากนั้นภูเขาไฟก็มีการระเบิดเล็กๆน้อยๆหลายครั้ง{{sfn|Winchester|2003|p=154–166}}
 
วันที่ [[26 สิงหาคม]] ภูเขาไฟระเบิดขึ้นอย่างรุนแรง เกาะสั่นสะเทือน เถ้าถ่านฝุ่นควันปลิวไปทั่วท้องฟ้า เกิดระเบิดขนาดกลางมาอีกหลายครั้ง ชาวบ้านต่างเกิดความหวาดกลัว ในคืนนั้น แม้ผู้ที่กำลังอยู่ในเรือที่อยู่ห่างจากกรากะตัวถึง 16 กิโลเมตรก็ยังเห็นการระเบิดอย่างชัดเจน และรู้สึกได้ว่าน้ำทะเลรอบเรือร้อนขึ้นมาก การระเบิดดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง ผู้คนเริ่มล่องเรืออพยพไปจากเกาะ ส่วนผู้ที่เลือกจะอยู่ในเกาะก็พยายามหาที่กำบังให้ปลอดภัยที่สุด
 
วันที่ [[27 สิงหาคม]] เวลา 10 นาฬิกาตรง ได้เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ที่สุด แรงระเบิดนั้นคร่าชีวิตทุกคนที่ยังอยู่บนเกาะ พื้นที่ร้อยละ 65.52 ของเกาะกลายเป็นเถ้าธุลีลอยสูงขึ้นไปถึง 80 กิโลเมตร ในรัศมี 240 กิโลเมตรจากเกาะถูกเถ้าธุลีเหล่านั้นบดบังแสงอาทิตย์จนมืดมิดคล้ายตอนกลางคืน เสียงระเบิดดังกึกก้องมาก จนเมือง[[ปัตตาเวีย]]ที่อยู่ห่างจากกรากะตัวถึง 150 กิโลเมตร ผู้คนยังต้องเอามืออุดหูกันเสียงระเบิด และผู้คนที่อาศัยบนเกาะโรดริเกซซึ่งอยู่ห่างจากกรากะตัวถึง 4,776 กิโลเมตรก็ได้ยินเช่นเดียวกัน นอกจากนี้การระเบิดยังทำให้เกิดคลื่น[[สึนามิ]] สูงกว่า 30 เมตร เดินทางไปถล่มเกาะหลายแห่ง แรงแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นตรวจจับได้แม้แต่ที่[[สหราชอาณาจักร]] รวมแล้วมีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์นี้ประมาณ 36,000 คน<ref> name="The Independent, May 3, 2006" </ref>
 
== ดูเพิ่มเติม ==
* [[ภูเขาไฟ]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Krakatoa}}
* [http://www.panoramio.com/photo/40388132 Krakatau 2010]
* [http://www.flickr.com/photos/odesya/sets/72157613532985974/ Photos of Krakatoa] from 2004 to 2009
* [http://oysteinlundandersen.com/Volcanoes/Krakatau/Anak_Krakatau.html Photos of Krakatoa] from 2011 to 2012
* [http://www.vansandick.com/familie/archief/In_het_Rijk_van_Vulcaan/10.htm#h1 "In het Rijk van Vulcaan"] – "In the Realm of the Volcano", eyewitness account by R.A. van Sandick {{nl icon}}
* [http://vulcan.wr.usgs.gov/Volcanoes/Indonesia/description_krakatau_1883_eruption.html 1883 Eruption of Krakatau] from the [[United States Geological Survey]]'s Cascades Volcano Observatory
* [http://www.geology.sdsu.edu/how_volcanoes_work/Krakatau.html Krakatau, Indonesia (1883)] – information from [[San Diego State University]] about the 1883 eruption
* [http://www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=4074651 Krakatoa Volcano: The Son Also Rises] – companion website to the NPR programme
* [http://www.scienceandsociety.co.uk/results.asp?image=10316149&wwwflag=&imagepos=8 On-line images of some of Ashcroft's sunset sketches]
* [http://www.bbc.co.uk/programmes/p0098gdy BBC World Service programme 'Witness' talks to Simon WInchester]
* [http://volcano.oregonstate.edu/vwdocs/volc_images/southeast_asia/indonesia/krakatau.html Krakatau image gallery] from Volcano World, a Public Outreach project of the North Dakota and Oregon Space Grant Consortia, administered by the Department of Geosciences at [[Oregon State University]]
 
{{Coord|6|6|27|S|105|25|3|E|type:mountain|display=title}}