ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชอาณาจักรเกย์และเลสเบียนแห่งหมู่เกาะคอรัลซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritachai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
| location =Coral inset.jpg
| purpOrgStruct = [[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]
| leadership = จักรพรรดิกรรวีที่เดลที่ 1<br />(ด.ช.กรรวีเดล จันทร์โฉมพาร์เคอร์ แอนเดอร์ซัน)
| foundationDate = [[14 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547|2547]]
| areaClaimed =
บรรทัด 31:
== ประวัติ ==
 
หลังจากที่รัฐสภากลางแห่งออสเตรเลียได้ออกกฎหมายห้ามการสมรสระหว่างเพศเดียวกันใน [[พ.ศ. 2547]] กลุ่มเรียกร้องสิทธิชาวเกย์แห่งออสเตรเลียได้ล่องเรือไปถึงเกาะที่ใหญ่ที่สุดใน[[หมู่เกาะคอรัลซี]]และปักธงแห่งชาวเกย์กลางเกาะแล้ว ได้ประกาศแยกหมู่เกาะคอรัลซีจากประเทศออสเตรเลียและสถาปนาเป็น '''"ราชอาณาจักรเกย์และเลสเบียนแห่งหมู่เกาะคอรัลซี"''' เมื่อวันที่ [[14 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547|2547]] โดยนาย'''เดล พาร์เคอร์ แอนเดอร์ซัน''' (Dale Parker Anderson; เกิด พ.. กรรวีจันทร์โฉม2508) สมาชิกคนหนึ่งของกลุ่มฯ ได้สถาปนาตนเองเป็น'''จักรพรรดิกรรวีเดลที่ 1''' ({{lang-en|Emperor Dale I}})
 
ในปีถัดมา กลุ่มเรียกร้องสิทธิชาวเกย์แห่งออสเตรเลียจำใจเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในข้อพิพาทภายในประเทศหลายประการ และในการแยกตัวจากออสเตรเลียของหลายกลุ่ม เช่น การสถาปนา'''เครือจักรภพเกย์และเลสเบียน''' ({{lang-en|Gay and Lesbian Commonwealth Kingdom}}) อันมีนายแจ็กซ์ บรูกซ์ (Jaix Broox) เป็นผู้นำคนแรก, การสถาปนา'''ชนเผ่าเกย์''' ({{lang-en|Unified Gay Tribe}}) มีนายบิล ฟรีแมน (Bill Freeman) และนายอองรีก เปแรซ (Enrique Pérez) เป็นผู้นำร่วมกันคนแรก, ตลอดจนการสถาปนา'''มูลนิธิเพื่อปิตุภูมิของชาวเกย์''' ({{lang-en|Gay Homeland Foundation}}) มีนายวิกเตอร์ ซิมเมอร์แมน (Victor Zimmerman) เป็นประธานมูลนิธิคนแรก
บรรทัด 37:
อย่างไรก็ดี การสถาปนาราชอาณาจักรเกย์และเลสเบียนแห่งหมู่เกาะคอรัลซีไม่ได้รับการยอมรับจาก[[รัฐชาติ]]ใด ๆ และไม่ได้มีการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนจริง ๆ บนเกาะ หมู่เกาะคอรัลซียังคงร้างผู้คนอยู่ตามเดิม และถึงแม้ว่าในวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549|2549]] ราชอาณาจักรฯ ได้เริ่มจัดตั้งและให้บริการไปรษณีย์ระหว่างรัฐควีนส์แลนด์กับหมู่เกาะคอรัลซี เรียกชื่อ '''"ราชไปรษณีย์เกย์"''' ({{lang-en|Royal Gay Mail}}) แต่ก็มิได้มีการรับรองหรือยืนยันเอกราชของราชอาณาจักรฯ นี้จริง ๆ
 
กระนั้น ผู้บริหารราชอาณาจักรฯ นับแต่เดือน[[มิถุนายน พ.ศ. 2549|มิถุนายน 2549]] เป็นต้นมา ได้จำหน่าย[[แสตมป์|ตราไปรษณียากร]] และตั้งเป้าไว้ว่าจะผลิตตราไปรษณียากรชุด[[อนุรักษ์นิยม|อนุรักษนิยม]]ออกมาเรื่อย ๆ เพื่อ "ส่งเสริมเกียรติภูมิอันสูงส่งและเป็นเอกลักษณ์ของบรรดานักสะสมตราไปรษณียากร" นอกจากนี้ [[เว็บไซต์]]ของราชอาณาจักรฯ ยังได้ประกาศว่าราชอาณาจักรมีสิทธิที่จะดำเนินด้วยตนเองซึ่งเศรษฐกิจทั้งปวงของราชอาณาจักร ทั้งทางการท่องเที่ยว การประมง และการจำหน่ายตราไปรษณียากรอีกด้วย
 
== อ้างอิง ==