ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขาไกรลาส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:Manimahesh kailash.jpg|thumb|250px|เขาไกรลาส]]
[[Fileไฟล์:MtKailash location.png|thumb|250px|แผนที่แสดงที่ตั้ง]]
'''เขาไกรลาส''' ({{lang-en|Mount Kailash, Mount Kailas}}; [[ภาษาทิเบต|ทิเบต]]: གངས་རིན་པོ་ཆེ; [[เทวนาครี]]: कैलास; {{lang-zh|冈仁波齐峰}}; [[พินอิน]]: ''Gāngrénbōqí fēng'') เป็นยอดเขาแห่งหนึ่งของ[[เทือกเขาหิมาลัย]] ตั้งอยู่ในทิศตะวันตกของ[[เขตปกครองตนเองทิเบต]] ทางตอนเหนือของ[[ยอดเขานันทาเทวี]]ราว 100 ไมล์
 
บรรทัด 9:
ตามความเชื่อของศาสนาต่าง ๆ เหล่านี้ เขาไกรลาสเป็นศูนย์กลางของจักรวาล และเชื่อว่า คือแห่งเดียวกันกับ "[[เขาพระสุเมรุ]]" ตาม[[ไตรภูมิ|ความเชื่อเรื่องจักรวาลของศาสนาพุทธ]]
 
เชิงเขาไกรลาส เป็นต้นกำเนิดของ[[แม่น้ำ]]สำคัญหลายสายของภูมิภาคแห่งนี้ ได้แก่ [[แม่น้ำคงคา]], [[แม่น้ำสินธุ]] และยังมี[[ทะเลสาบ]]อีก 7 แห่งอยู่รายรอบ ซึ่งแห่งที่สำคัญ คือ "[[Lake Manasarovar|ทะเลสาบมานัสโรวาร์]]" หรือ "ทะเลสาบมานัสสะ" อยู่ทางเหนือของเขาไกรลาส ที่เชื่อกันว่า คือ "สระอโนดาต" ใน[[ป่าหิมพานต์]] เชื่อกันว่าเป็นสถา่นสถาน ๆ ที่เป็นต้นกำเนิดของ[[สัตว์หิมพานต์|หงส์]] และหงส์จะบินกลับมาที่นี่ทุกปี ทะเลสาบมานัส ได้ถูกอ้างอิงถึงใน[[รามายณะ|มหากาพย์รามายณะ]] และ[[มหาภารตะ|มหากาพย์มหาภารตะยุทธ]] ที่ระบุว่า "ทะเลสาบมานัสอันศักดิ์สิทธิ์นี้ แม้แต่ใครได้ถูกต้องสัมผัสหรือนำเอามาล้างร่างกายหรือได้อาบน้ำในทะเลสาบนี้ ผู้นั้นจะได้ไปสู่สรวงสวรรค์ และถ้าใครได้ดื่มน้ำในทะเลสาบศักดิ์สิทธิ์นี้ ก็จะได้ขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ใกล้ที่สถิตของพระศิวะ"
 
เขาไกรลาส ปกติจะปกคลุมด้วย[[หิมะ]]และ[[น้ำแข็ง]][[สีขาว]]โพลน จนได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ภูเขาสีเงิน" ("ไกรลาส" หรือ "ไกลาส" เป็น[[คำวิเศษณ์]]ใน[[ภาษาสันสกฤต]] แปลว่า "สีเงินยวง"<ref>[http://guru.sanook.com/search/%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA ไกรลาส น.ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]</ref>) ทุกปีจะมีผู้จารึกแสวงบุญตามศาสนาต่าง ๆ เดินทางมาที่นี่ โดยเชื่อว่าเป็นการบูชาและได้อยู่ใกล้พระศิวะ โดยทำการประทักษิณให้ครบ 39 รอบ เป็นการเคารพบูชาอันสูงสุด<ref>''INDIA ความเร้นลับของปฐพีชมพูทวีป'' โดย ทีมงาน[[ต่วย'ตูน]] (สำนักพิมพ์ ซีเอ็ดยูเคชั่น พิมพ์รวมเล่ม ครั้งแรก : มิถุนายน 2551, 264 หน้า) ISBN 978-974-16-1960-3</ref>