ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูโรปา (ดาวบริวาร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 58:
 
== การโคจรและการหมุนรอบตัวเอง ==
[[Fileไฟล์:Galilean moon Laplace resonance animation.gif|thumb|365px|left|ภาพเคลื่อนไหวแสดง[[การสั่นพ้องของวงโคจร]]ของดวงจันทร์ยูโรปา รวมทั้งดวงจันทร์ไอโอและดวงจันทร์แกนิมีด]]
ยูโรปา[[วงโคจร|โคจร]]รอบดาวพฤหัสบดีโดยใช้เวลาเพียงสามวันครึ่งด้วยรัศมีวงโคจรประมาณ 670,000 [[กิโลเมตร]] และมี[[ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร]] เพียง 0.009 ซึ่งค่อนข้างกลม มี[[ความเอียงของวงโคจร]]อ้างอิงจากระนาบ[[เส้นศูนย์สูตรฟ้า]]เล็กน้อย คือประมาณ 0.470 องศาเท่านั้น<ref name="datasheet">{{cite web | url=http://www2.jpl.nasa.gov/galileo/europa/#overview |title=Europa, a Continuing Story of Discovery|accessdate=9 August 2007 |work=Project Galileo|publisher=[[NASA]], Jet Propulsion Laboratory}} {{dead link|date=July 2013}}</ref> ยูโรปาการหมุนรอบตัวเองแบบสมวาร คือมีคาบการหมุนรอบตัวเองเท่ากับคาบการโคจรรอบดาวพฤหัสบดีเหมือนดาวบริวารกาลิเลียนดวงอื่นๆ ดวงจันทร์ยูโรปาจึงหันหน้าเข้าหาดาวพฤหัสบดีเพียงด้านเดียวเสมอ ทำให้มีจุดๆหนึ่งบนดวงจันทร์ยูโรปาที่สามารถมองเห็นดาวพฤหัสบดี ณ [[จุดจอมฟ้า]]พอดี [[เส้นเมริเดียน]]ที่ลากผ่านจุดๆนี้ถูกกำหนดให้เป็นเส้นเมริเดียนปฐมของดวงจันทร์ยูโรปา อย่างไรก็ตามผลการค้นคว้าได้ระบุว่าการหมุนของดวงจันทร์ยูโรปาอาจไม่ใช่การหมุนสมวาร เนื่องจากมีการเสนอว่าดวงจันทร์ยูโรปาหมุนรอบตัวเองเร็วกว่าโคจรรอบดาวพฤหัสบดี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการกระจายที่ไม่สมดุลของมวลภายในดวงจันทร์ยูโรปาและการมีน้ำในรูปของเหลวอยู่ระหว่างเปลือกน้ำแข็งและแกนหินข้างใน<ref name=Geissler>{{cite journal |last=Geissler |first=P. E. |coauthors=Greenberg, R.; Hoppa, G.; Helfenstein, P.; McEwen, A.; Pappalardo, R.; Tufts, R.; Ockert-Bell, M.; Sullivan, R.; Greeley, R.; Belton, M. J. S.; Denk, T.; Clark, B. E.; Burns, J.; Veverka, J. |year=1998 |title=Evidence for non-synchronous rotation of Europa |journal=[[Nature (magazine)|Nature]] |volume=391 |pages=368–70 |bibcode=1998Natur.391..368G |doi=10.1038/34869 |pmid=9450751 |issue=6665}}</ref>
 
บรรทัด 67:
 
== ลักษณะทางกายภาพ ==
[[Fileไฟล์:Europa Earth Moon Comparison.png|thumb|260px|right|เมื่อเปรียบเทียบยูโรปา (''ซ้ายล่าง'') กับดวงจันทร์ (''ซ้ายบน'') และโลก (''ขวา'') ตามมาตราส่วนโดยประมาณ]]
ยูโรปามีขนาดเล็กกว่า[[ดวงจันทร์]]ของ[[โลก]]เล็กน้อย คือมี[[เส้นผ่านศูนย์กลาง]]ประมาณ 3,100 กิโลเมตร (1,900 ไมล์) มันเป็นดาวบริวารที่ใหญ่เป็นอันดับที่หกและวัตถุที่ใหญ่เป็นอันดับที่สิบห้าของ[[ระบบสุริยะ]] แม้ว่ายูโรปาจะมีมวลน้อยที่สุดในบรรดาดาวบริวารของดาวพฤหัส แต่ก็มีมวลมากกว่าดาวบริวารอื่นๆในระบบสุริยะที่เล็กกว่ามันรวมกัน<ref name="Masses">มวลของยูโรปา: 48{{e|21}} กก. มวลของ[[ไทรทัน]]รวมกับดวงจันทร์ที่เล็กกว่า: 39.5{{e|21}} กก.)</ref> ความหนาแน่นของยูโรปาบ่งบอกถึงองค์ประกอบพื้นฐานที่เป็นหิน[[ซิลิเกต]] คล้ายกันกับองค์ประกอบพื้นฐานของ[[ดาวเคราะห์คล้ายโลก|ดาวเคราะห์ชั้นใน]]
 
บรรทัด 74:
 
=== ลักษณะพื้นผิว ===
[[Fileไฟล์:PIA01295 modest.jpg|thumb|260px|right|สีตามธรรมชาติโดยประมาณ (ซ้าย) และสีที่ได้รับการปรับแต่งแล้ว (ขวา)]]
ยูโรปาเป็นหนึ่งในวัตถุที่เรียบที่สุดในระบบสุริยะ เนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพขนาดใหญ่เช่นภูเขาหรืออุกกาบาตอยู่ไม่มาก<ref name="waterworld">{{cite web |url=http://teachspacescience.org/cgi-bin/search.plex?catid=10000304&mode=full |title=Europa: Another Water World? |year=2001 |accessdate=9 August 2007 |publisher=[[NASA]], Jet Propulsion Laboratory |work=Project Galileo: Moons and Rings of Jupiter }}</ref> อย่างไรก็ตาม มีทฤษฎีกล่าวว่าบริเวณ[[เส้นศูนย์สูตร]]ของยูโรปานั้นถูกปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งที่มีลักษณะแหลมเรียกว่า เพนิเทนเทส (Penitentes) สูงราว 10 เมตร ซึ่งเกิดจากการที่บริเวณดังกล่าวมีดวงอาทิตย์อยู่ในทิศเหนือศีรษะโดยตรง น้ำแข็งจึงละลายในแนวดิ่ง<ref>[http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-21341176 Ice blades threaten Europa landing]</ref> ร่างแหของเส้นที่ตัดกันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นผิวของยูโรปาส่วนใหญ่จะเป็น[[ลักษณะแอลบีโด]] (albedo features) ที่ชี้ให้เห็นถึงภูมิประเทศที่ต่ำ ยูโรปามีหลุมอุกกาบาตอยู่ไม่มากเพราะพื้นผิวของมันค่อนข้างแข็งแรงและยังใหม่อยู่<ref name="Arnett1996">Arnett, Bill (7 November 1996) [http://www.astro.auth.gr/ANTIKATOPTRISMOI/nineplanets/nineplanets/europa.html ''Europa'']. astro.auth.gr</ref><ref name="EuropaAlbedo">{{cite web |url=http://www.solarviews.com/eng/europa.htm |author=Hamilton, Calvin J. |title=Jupiter's Moon Europa|work=solarviews.com }}</ref> เปลือกน้ำแข็งของยูโรปาทำให้อัตราส่วนสะท้อนของมันอยู่ที่ 0.64 ทำให้มันเป็นหนึ่งในดาวบริวารที่มีอัตราการสะท้อนแสงมากที่สุดในบรรดาดาวบริวารทั้งหมด<ref name="datasheet" /><ref name="EuropaAlbedo" /> ซึ่งน่าจะชี้ให้เห็นได้ถึงพื้นผิวที่ใหม่และมีพลัง โดยพื้นผิวดวงจันทร์ยูโรปามีอายุประมาณ 20 ถึง 180 ล้านปีเมื่อคำนวณจากความถี่ของการถูกดาวหางพุ่งชน<ref name="Schenk">Schenk, Paul M.; Chapman, Clark R.; Zahnle, Kevin; and Moore, Jeffrey M. (2004) [http://books.google.com/books?id=8GcGRXlmxWsC&pg=PA427 "Chapter 18: Ages and Interiors: the Cratering Record of the Galilean Satellites"], pp. 427 ff. in ''Jupiter: The Planet, Satellites and Magnetosphere'', Cambridge University Press, ISBN 0-521-81808-7. </ref> อย่างไรก็ตาม
ขณะนี้ยังไม่มีคำอธิบายทา่งทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถอธิบายถึงลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์ยูโรปาทั้งหมดได้โดยสมบูรณ์<ref name="Astrobio2007">{{cite web |url=http://www.astrobio.net/exclusive/603/high-tide-on-europa |title=High Tide on Europa |year=2007 |accessdate=20 October 2007 |publisher=astrobio.net |work=Astrobiology Magazine }}</ref>
 
ระดับการแผ่รังสีบนพื้นผิวของยูโรปามีค่าเทียบเท่ากับการได้รับปริมาณรังสี 5400 [[ซีเวอร์ต|มิลลิซีเวอร์ต]] (540 [[เรม]]) ต่อวัน<ref name="ringwald">{{cite web |date=29 February 2000 |title=SPS 1020 (Introduction to Space Sciences) |publisher=California State University, Fresno |author=Frederick A. Ringwald |url=http://zimmer.csufresno.edu/~fringwal/w08a.jup.txt |accessdate=4 July 2009}} [http://www.webcitation.org/5jwBSgPuV (Webcite from 20 September 2009)]</ref> ซึ่งเป็นปริมาณที่สามารถทำให้มนุษย์เกิดอาการเจ็บป่วยร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ภายในหนึ่งวัน<ref name="remeffects">[http://archive.org/details/TheEffectsOfNuclearWeapons ''The Effects of Nuclear Weapons''], Revised ed., US DOD 1962, pp. 592–593</ref>