ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแจกแจงความน่าจะเป็น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Blueocynia (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ '''การแจกแจงความน่าจะเป็น'''กำหนด[[ความน่าจะเป็น]]ให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่[[ปริภูมิตัวอย่าง]]ไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็น[[categorical distribution|การแจกแจงประเภท]], การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วย[[ตัวแปรสุ่ม]]วิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วย[[ฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น]], และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วย[[ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น]] การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้[[probability measure|เมเชอร์ความน่าจะเป็น]]ที่เจาะจงน้อยกว่า
 
==ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น==
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง (Continuous Random Variable) X แสดงในรูปฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็นซึ่งมีคุณสมบัติ ดังนี้
# <math>f(x)\ge 0 ; a \leq x \leq b</math>
# <math>\int_{-\infty}^\infty f(x)dx = 1</math>
# <math>P(a \leq x \leq b) = \int_a^b f(x)dx</math>
สำหรับตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง <math>Pr[X=x] = 0</math> และค่าความน่าจะเป็นจะหาได้เมื่อหาความน่าจะเป็นที่ตัวแปรสุ่มจะตกในช่วงใดช่วงหนึ่งแล้ว
:<math>Pr(a\leq x\leq b = Pr(a<x\leq b) = Pr(a\leq x <b) = Pr(a<x<b)</math>
 
== ประเภทของการแจกแจงความน่าจะเป็น ==