ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การฟื้นฟูเมจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DessertSweet (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง พิสูจน์อักษร
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น|MeijiJoukyou.jpg|200px|[[จักรพรรดิเมจิ]] ทรงย้ายที่ประทับจาก [[เกียวโต]] มายัง [[โตเกียว]] ในปี ค.ศ. 1868}}
 
'''การคืนสู่ราชบัลลังก์ของจักรพรรดิเมจิ''' ({{ญี่ปุ่น|明治維新|Meiji Ishin}}; {{lang-en|Meiji Restoration}}) หรือ '''การปฏิวัติเมจิ''' (Meiji Revolution), '''การปฏิรูปเมจิ''' (Meiji Reform) หรือ '''การปรับปรุงเมจิ''' (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศ[[ญี่ปุ่น]]ใน ค.ศ. 1868 เพื่อรวบอำนาจจาก[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]] (徳川幕府 ''Tokugawa bakufu'') กลับคืนสู่จักรพรรดิอีกครั้งหนึ่ง การปฏิรูปครั้งนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อระบบการปกครองและโครงสร้างทางสังคมของญี่ปุ่นอย่างมหาศาล การปฏิรูปครั้งนี้ได้เริ่มดำเนินมาตั้งแต่ช่วงปลาย[[ยุคเอะโดะ]] (江戸時代 ''Edo jidai'') หรือมักเรียกว่าช่วง[[บะกุมะสึ]] (幕末 ''Bakumatsu'') (มักเรียก รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะตอนปลาย) จนถึงช่วงต้นของ[[ยุคเมจิ]] (明治時代 ''Meiji-jidai'')
 
== พันธมิตร ==
เส้น 10 ⟶ 9:
 
== สิ้นสุดระบอบโชกุน ==
วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1867 [[โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ]] (徳川 慶喜 ''Tokugawa Yoshinobu'') [[โชกุน]]คนที่ 15 ของ[[ตระกูลโทะกุงะวะ]] ยอมสวามิภักดิ์ต่อจักรพรรดิเมจิ และลงจากตำแหน่งในอีก 10 วันต่อมา ถือเป็นวันที่สิ้นสุดการปกครองระบอบโชกุนอย่างเป็นทางการ และเป็นการฟื้นฟูอำนาจของสถาบันกษัตริย์ (''Taisei Hōkan'') อย่างไรก็ตาม โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ ซึ่งถือเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่นยังคงมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญอยู่<ref>''One can date the "restoration" of imperial rule from the edict of 3 January 1868.'' Jansen (2000), p.334.</ref>
 
หลังจากนั้นไม่นาน ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1868 ก็เกิด[[สงครามโบะชิง]] (戊辰戦争 ''Boshin Sensō'') โดยเริ่มด้วย[[ศึกโทะบะ-ฟุชิมิ]] (鳥羽・伏見の戦い ''Toba-Fushimi no Tatakai'') ระหว่างพันธมิตรซัตโช และกองทัพของอดีตโชกุน ในที่สุด กองทัพของโชกุนก็พ่ายแพ้ ส่งผลให้จักรพรรดิมีพระราชอำนาจเต็มเหนืออดีตโชกุนโยะชิโนะบุอย่างสมบูรณ์ ในวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1869 จักรพรรดิเมจิมีพระบรมราชโองการประกาศฟื้นฟูพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ<ref>Quoted and translated in "A Diplomat In Japan", [[Sir Ernest Satow]], p.353, ISBN 978-1-933330-16-7</ref>
 
กองกำลังของโชกุนส่วนหนึ่งได้หลบหนีไปยัง[[เกาะฮกไกโด]] และพยายามแบ่งแยกดินแดนตั้งเป็นรัฐอิสระชื่อ [[สาธารณรัฐเอะโสะ]] (蝦夷共和国 ''Ezo Kyōwakoku'') อย่างไรก็ตาม กองกำลังผู้จงรักภักดีต่อจักรพรรดิได้เข้ายุติการแบ่งแยกดินแดนนี้ใน[[ศึกฮะโกะดะเตะ]] (函館戦争 ''Hakodate Sensō'') ณ เกาะฮกไกโด ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1869 การพ่ายแพ้ของกองกำลังฝ่ายโชกุน อันนำโดย[[เอะโนะโมะโตะ ทะเกะอะกิ]] (榎本 武揚 ''Enomoto Takeaki'') และ[[ฮิจิคะตะ โทะชิโซ]] (土方 歳三 ''Hijikata Toshizō'') โดยในศึกครั้งนี้ถือเป็นจุดสิ้นสุดของ[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]] และเป็นการฟื้นฟูพระราชอำนาจในจักรพรรดิอย่างสมบูรณ์
 
== ผลกระทบ ==
การปฏิรูปสมัยเมจิทำให้ประเทศญี่ปุ่น[[การปรับให้เป็นอุตสาหกรรม|ก้าวสู่ระบบอุตสาหกรรม]]อย่างรวดเร็ว นำไปสู่การเพิ่มอำนาจทางการทหารใน ค.ศ. 1905 ภายใต้คำขวัญว่า "[[ฟุโกะกุเคียวเฮ|ประเทศมั่งคั่ง กองทัพแข็งแกร่ง]]" (富国強兵 ''fukoku kyōhei'')
 
กลุ่ม[[คณาธิปไตยเมจิ]] (Meiji oligarchy) ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีอำนาจจากแคว้นพันธมิตรได้ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาลภายใต้พระราชอำนาจในจักรพรรดิขึ้น เพื่อรวบรวมอำนาจของตนให้เข้มแข็งและสามารถต่อกรกับรัฐบาล[[สมัยเอะโดะ]] [[โชกุน]] [[ไดเมียว]] และชนชั้น[[ซามูไร]] ที่ยังคงเหลืออิทธิพลอยู่ได้
เส้น 23 ⟶ 22:
ใน ค.ศ. 1868 ที่ดินของ[[ตระกูลโทะกุงะวะ]]ทั้งหมดได้ตกไปอยู่ในความครอบครองของจักรพรรดิ และถือเป็นการเพิ่มอภิสิทธิ์ให้รัฐบาลเมจิใหม่ด้วย ใน ค.ศ. 1869 ไดเมียวของ[[แคว้นโทะซะ]] (土佐藩 ''Tosa han'') [[แคว้นซะงะ]] (佐賀藩 ''Saga-han'') [[แคว้นโชซู]] (長州藩 ''Chōshū han'') และ[[แคว้นซะสึมะ]] (薩摩藩 ''Satsuma han'') ซึ่งเคยต่อต้านระบอบโชกุนอย่างหนัก ได้รับการชักชวนให้ถวายดินแดนของแคว้นคืนแด่จักรพรรดิ ตามด้วยไดเมียวของแคว้นอื่น ๆ เพื่อให้รัฐบาลกลางโดยจักรพรรดิมีอำนาจเหนือดินแดนทั่วราชอาณาจักร (天下 ''tenka'') ได้ แต่ก็ได้มีการต่อต้านในช่วงแรก
 
กลุ่ม[[คณาธิปไตยเมจิ]]ได้พยายามที่จะเลิก[[ระบบชนชั้นทั้งสี่]] (士農工商 ''shinōkōshō'') อันได้แก่ ชนชั้นปกครอง (ซามูไร) เกษตรกร ช่างฝีมือ และพ่อค้าลงด้วย
 
ในขณะนั้น มีซามูไร 1.9 ล้านคนทั่วประเทศญี่ปุ่น หรือมากกว่าชนชั้นปกครองของฝรั่งเศสสมัย[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]เมื่อ ค.ศ. 1789 10 เท่า นอกจากนั้น ซามูไรของญี่ปุ่นไม่ได้อยู่ภายใต้มีผู้อำนาจปกครอง แต่จะจงรักภักดีต่อผู้ที่เป็นนายเท่านั้น รัฐบาลกลางต้องจ่ายเงินเดือนให้แก่ซามูไรแต่ละคน ซึ่งถือเป็นภาระทางการเงินอย่างมหาศาล และอาจเป็นแรงจูงใจหนึ่งให้กลุ่มคณาธิปไตยยกเลิกชนชั้นซามูไร
 
ในความตั้งใจที่จะยกเลิกชนชั้นซามูไร กลุ่มคณาธิปไตยได้ดำเนินการไปอย่างช้า ๆช้าๆ โดยในขั้นแรก ใน ค.ศ. 1873 รัฐบาลกลางได้ประกาศให้ซามูไรต้องเสียภาษีจากเบี้ยเลี้ยงในอัตราก้าวหน้า ต่อมาใน ค.ศ. 1874 รัฐบาลกลางได้เสนอซามูไรมีสิทธิเลือกที่จะเปลี่ยนการรับเบี้ยเลี้ยงเป็นพันธบัตรรัฐบาล และในที่สุด ใน ค.ศ. 1876 รัฐบาลกลางก็บังคับให้ซามูไรเปลี่ยนจากการรับเบี้ยเลี้ยงเป็นพันธบัตรรัฐบาลทั้งหมด
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://aboutjapan.japansociety.org/content.cfm/the_meiji_restoration_era_1868-1889 Essay on The Meiji Restoration Era, 1868-1889] on the About Japan, A Teacher's Resource website
* {{Cite book
| last =Akamatsu
| first =Paul
| authorlink =
| title =Meiji 1868: Revolution and Counter-Revolution in Japan
| publisher =Harper & Row
| year =1972
| location =New York
| page = 1247
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
* {{Cite book
| last =[[William G. Beasley|Beasley, William G.]]
| first =.
| authorlink =
| title =The Meiji Restoration
| publisher =Stanford University Press
| year =1972
| location =Stanford
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
* {{Cite book
| last = Beasley, William G.
| first =
| authorlink =
| title = The Rise of Modern Japan: Political, Economic and Social Change Since 1850
| publisher = St. Martin's Press
| year = 1995
| location = New York
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
* {{Cite book
| last =[[Albert M. Craig|Craig, Albert M.]]
| first =
| authorlink =
| title =Chōshū in the Meiji Restoration
| publisher =Harvard University Press
| year =1961
| location =Cambridge
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
* {{Cite book
| last =[[Marius Jansen|Jansen, Marius B.]]
| first =
| authorlink =
| coauthors =Gilbert Rozman, eds.
| title =Japan in Transition: From Tokugawa to Meiji
| publisher =[[Princeton University Press]]
| year =1986
| location =Princeton
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
* {{Cite book
| last =Jansen, Marius B.
| first =
| authorlink =
| title =The Making of Modern Japan
| publisher =Harvard University Press
| year =2000
| location =Cambridge
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
*{{Cite book
| last =Murphey
| first =Rhoads
| authorlink =
| title =East Asia: A New History
| publisher =Addison Wesley Longman
| year =1997
| location =New York
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
*{{Cite book
| last =[[Ernest Mason Satow|Satow, Ernest Mason]]
| first =
| authorlink =
| title =A Diplomat in Japan
| publisher =
| location =
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =4-925080-28-8
}}
* {{Cite book
| last =Wall
| first =Rachel F.
| authorlink =
| title =Japan's Century: An Interpretation of Japanese History since the Eighteen-fifties
| publisher =The Historical Association
| year =1971
| location =London
| pages =
| url =
| doi =
| id =
| isbn =
}}
* [[John Breen (scholar)|Breen, John]], 'The Imperial Oath of April 1868: ritual, power and politics in Restoration Japan', Monumenta Nipponica,51,4 (1996)
* Francisco Barberan & [[Rafael Domingo Osle]], Codigo civil japones. Estudio preliminar, traduccion y notas (2 ed. Thomsons Aranzadi, 2006).
* Harry D. Harootunian, Toward Restoration (Berkeley: University of California Press, 1970), "Introduction", pp 1 – 46; on Yoshida: chapter IV "The Culture of Action – Yoshida Shōin", pp 184 – 219.
* Najita Tetsuo, The Intellectual Foundations of Modern Japanese Politics (Chicago & London: University of Chicago Press), chapter 3: "Restorationism in Late Tokugawa", pp 43 – 68.
* H. Van Straelen, Yoshida Shōin, Forerunner of the Meiji Restoration: A Biographical Study (Leiden: E. J. Brill, 1952).
* David M. Earl, Emperor and Nation in Japan (Seattle: University of Washington Press, 1972), on Yoshida: "Attitude toward the Emperor/Nation", pp 161 – 192. Also pp.&nbsp;82 – 105.
* Marius B Jansen, Sakamoto Ryōma and the Meiji Restoration (New York: Columbia University Press, 1994) especially chapter VIII: "Restoration", pp 312 – 346.
* W. G. Beasley, The Meiji Restoration (Stanford, California: Stanford University Press, 1972), especially chapter VI: "Dissenting Samurai", pp 140 – 171.
* Conrad Totman, "From Reformism to Transformism, bakufu Policy 1853–1868", in: T. Najita & V. J. Koshmann, Conflict in Modern Japanese History (New Jersay: Princeton University Press, 1988), pp.&nbsp;62 – 80.
* Jansen, Marius B.: The Meiji Restoration, in: Jansen, Marius B. (ed.): The Cambridge history of Japan, Volume 5: The nineteenth century (New York: Cambridge UP, 1989), pp.&nbsp;308–366.
 
*In addition, the anime "Rurouni Kenshin" directly deals with the aftermath of the revolution, and presents a good example of the times.
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:การฟื้นฟูสมัยเมจิ]]
[[he:תקופת מייג'י#הרקע, העלייה לשלטון והרסטורציה]]
{{โครง}}