ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การล่มสลายของสหภาพโซเวียต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 113.53.168.187 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BotKung
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox civilian attack
| title = การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
| image = 1991Boris coupYeltsin attempt422 August 1991-1.jpg
| image_size = 250px
| caption = บอริส เยลต์ชินประกาศเอกราชรัสเซีย
| caption = รถถังที่จตุรัสแดง
| location = สหภาพโซเวียต
| date = 11 สิงหาคม 1985 – 26 ธันวาคม 1991
| type = การก่อรัฐประหาร การประกาศเอกราชรัฐต่างๆ การยุบพรรคคอมมิวนิสต์ การจลาจล
| perp= {{Flagicon|Russia|1991}} '''[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย|รัสเซีย]]'''<br/> {{flagicon|สหภาพโซเวียต}} [[รัฐบาลกลางสหภาพโซเวียต]]<br/>{{Flagicon|USSR}} [[Gang of Eight (Soviet Union)|คณะกรรมการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ]]<br />[[ไฟล์:Red Army flag.svg|22px]] [[กองทัพสหภาพโซเวียต]]
[[ไฟล์:Emblema KGB.svg|19px]] [[KGB]]
}}
[[สหภาพโซเวียต|สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต]]ถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)<ref name="ReferenceC">[[:s:ru:Декларация Совета Республик ВС СССР от 26.12.1991 № 142-Н|Declaration № 142-Н]] of the [[Soviet of Nationalities|Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union]], formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law. {{ru icon}}</ref> โดยรับรองเอกราชของสิบสอง[[สาธารณรัฐแห่งสหภาพโซเวียต]] และสถาปนา[[เครือรัฐเอกราช]] หนึ่งวันก่อนหน้า วันที่ 25 ธันวาคม 2534 [[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]] ประธานาธิบดีโซเวียต ลาออก ประกาศยกเลิกตำแหน่งของเขา และส่งมอบรหัสปล่อยขีปนาวุธนิวเคลียร์ของโซเวียตให้แก่ประธานาธิบดี[[บอริส เยลต์ซิน]]แห่งรัสเซีย เย็นวันเดียวกัน เมื่อเวลา 19.32 น. มีการลดธงชาติโซเวียตลงจาก[[เครมลิน]]เป็นครั้งสุดท้ายและแทนที่ด้วยธงไตรรงค์รัสเซีย สัปดาห์ก่อนหน้านั้น สาธารณรัฐโซเวียต 11 จาก 12 แห่งลงนามพิธีสารอัลมา-อะตาซึ่งสถาปนาเครือรัฐเอกราชและประกาศให้สหภาพโซเวียตสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการ<ref>{{cite news|author=|url= http://www.nytimes.com/1991/12/22/world/end-soviet-union-text-declaration-mutual-recognition-equal-basis.html?ref=azerbaijan&gwh=2B6C852C56E742A995246053162D1274 |title=THE END OF THE SOVIET UNION; Text of Declaration: 'Mutual Recognition' and 'an Equal Basis' - New York Times |publisher=Nytimes.com |date=1991-12-22 |accessdate=2013-03-30}}</ref><ref>{{cite news|url=http://www.nytimes.com/learning/general/onthisday/big/1225.html#article |title=Gorbachev, Last Soviet Leader, Resigns; U.S. Recognizes Republics' Independence |publisher=Nytimes.com |accessdate=2013-03-30}}</ref> การล่มสลายของสหภาพโซเวียตยังเป็นการสิ้นสุด[[สงครามเย็น]]ด้วย [[การปฏิวัติ ค.ศ. 1989]] และการยุบสหภาพโซเวียตนำไปสู่การยุติความเป็นปรปักษ์นานหลายทศวรรษระหว่าง[[องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ]] (นาโต) และ[[สนธิสัญญาวอร์ซอ]] ซึ่งเป็นลักษณะนิยามของสงครามเย็น
เส้น 12 ⟶ 15:
== การเถลิงอำนาจของกอร์บาชอฟ ==
[[ไฟล์:Gorbachev (cropped).jpg|มีฮาอิล กอร์บาชอฟ|thumb|200px|right]]
 
{{Eastern Bloc sidebar}}
แม้ว่าการปฏิรูปก่อนหน้านั้นได้ล่าช้าลงในช่วงปี 1964-1982 แต่ว่าการที่คนรุ่นใหม่ได้มีอำนาจแทนคนรุ่นเก่าก็ได้สร้างสภาวะที่เหมาะแก่การปฏิรูปขึ้นอีกครั้ง ความสัมพันธ์ของ[[สหภาพโซเวียต]]กับ[[สหรัฐอเมริกา]]ที่เปลี่ยนแปลงไปก็ยังเป็นความจำเป็นหนึ่งของการปฏิรูป แม้ว่าประธานาธิบดี[[จิมมี คาร์เตอร์]] ได้ล้มเลิกนโยบายประนีประนอมหลังจากที่สหภาพโซเวียตโจมตี[[อัฟกานิสถาน]] แต่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก็ได้ขึ้นสูงสุดนับตั้งแต่เหตุการณ์[[สงครามอิรัก-อิหร่าน]] ในสมัยแรกของประธานาธิบดี[[โรนัลด์ เรแกน]]
 
เส้น 19 ⟶ 22:
 
อย่างไรก็ตาม การลดความเข้มงวดในการควบคุมสื่อและความพยายามที่จะสร้างการเมืองที่เปิดกว้างมากขึ้นโดยกอร์บาชอฟ ได้ปลุกความรู้สึกชาตินิยมและต่อต้านรัสเซียในสาธารณรัฐเล็ก ๆ ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในสหภาพโซเวียต ในคริสต์ทศวรรษ 1980 เสียงที่เรียกร้องอิสรภาพจากการปกครองจาก[[มอสโก]]ดังขั้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะในสาธารณรัฐแถบทะเลบอลติก คือ [[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]] และ[[ลิทัวเนีย]] ที่รวมกับสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี 1940 โดย[[โจเซฟ สตาลิน]] ความรู้สึกชาตินิยมนั้นก็ยังได้แพร่หลายในสาธารณรัฐอื่น ๆ เช่น [[ยูเครน]] [[ประเทศจอร์เจีย|จอร์เจีย]] และ[[อาเซอร์ไบจาน]] ขบวนการชาตินิยมเหล่านี้ได้เข้มแข็งขึ้นอย่างมากเมื่อเศรษฐกิจของโซเวียตตกต่ำ รัฐบาลที่กรุงมอสโกนั้นกลายเป็นแพะรับบาปของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ แสดงว่า กอร์บาชอฟนั้นได้ปลดปล่อยพลังที่จะทำลายสหภาพโซเวียตไปแล้วโดยไม่ได้ตั้งใจ
 
|[[File:1991 caption =coup attempt4.jpg|thumb|250px|รถถังโซเวียตที่จตุรัสแดง]]
[[File:Boris Yeltsin 19 August 1991-1.jpg|thumb|250px|บอริส เยลต์ชินท้าทายคณะรัฐประหารของเกอร์นาดี ยานาเยฟ ]]
[[File:1991 coup attempt5.jpg|thumb|250px|ทหารโซเวียตที่ลานสวนสนาม ขณะยึดอำนาจกอร์บาชอฟ]]
{{Eastern Bloc sidebar}}
 
== อ้างอิง ==