ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนราหูน้ำจืด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
'''ปลากระเบนราหูน้ำจืด''' ({{lang-en|Giant freshwater whipray}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Himantura polylepis}}) เป็น[[ปลากระเบน]][[ปลาน้ำจืด|น้ำจืด]]ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก จัดอยู่ใน[[วงศ์ปลากระเบนธง]] (Dasyatidae)
 
จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก[[ปลากระเบนแมนตา]] (''Manta'' spp.) ที่พบได้ใน[[ทะเล]] โดยมีน้ำหนักได้ถึง 600 [[กิโลกรัม]] ความกว้างได้ถึง 2.5-3 [[เมตร]] หรือมากกว่านั้น รวมถึงมีความยาวตั้งแต่ปลายส่วนหัวจรดปลายหางที่บันทึกไว้ได้ใหญ่ที่สุด คือ 5 เมตร
จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก[[ปลากระเบนแมนตา]] (''Manta'' spp.) ที่พบได้ใน[[ทะเล]] โดยสามารถหนักได้ถึง 600 [[กิโลกรัม]] กว้างได้ถึง 2.5-3 [[เมตร]] ซึ่งเป็นปลากระเบนชนิดที่มีหางเรียวยาวเหมือน[[แส้]] ได้ชื่อว่า "[[พระราหู|ราหู]]" เนื่องจากขนาดลำตัวที่ใหญ่เหมือนราหูอมจันทร์ตามคติของคนโบราณ มีลักษณะส่วนปลายหัวแหลม ขอบด้านหน้ามนกลมคล้ายใบโพ ลักษณะตัวเกือบเป็นรูปกลม ส่วนหางยาวไม่มีริ้วหนัง มีเงี่ยงแหลมที่โคนหาง 2 ชิ้น ซึ่งในปลาขนาดใหญ่อาจยาวได้ถึง 8-10 [[นิ้ว]] เมื่อหักไปแล้วสามารถงอกขึ้นได้ กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ ด้านบนของปีกและตัวเป็นสีเทาหรือน้ำตาลนวล หางสีคล้ำ ด้านล่างของตัวมีสีขาวนวล ที่ขอบปีกด้านล่างเป็นด่างสีดำ อาศัยในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ จนถึงบริเวณใกล้ปากแม่น้ำ และยังพบในแม่น้ำสายใหญ่ต่าง ๆ เช่น [[แม่น้ำเจ้าพระยา]], [[แม่น้ำแม่กลอง]], [[บางปะกง]], [[แม่น้ำโขง]], [[บอร์เนียว]], [[นิวกินี]] จนถึง[[ออสเตรเลีย]]ตอนเหนือ
 
จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก[[ปลากระเบนแมนตา]] (''Manta'' spp.) ที่พบได้ใน[[ทะเล]] โดยสามารถหนักได้ถึง 600 [[กิโลกรัม]] กว้างได้ถึง 2.5-3 [[เมตร]] ซึ่งเป็นปลากระเบนชนิดที่มีส่วนหางเรียวยาวเหมือน[[แส้]] ได้ชื่อว่า "[[พระราหู|ราหู]]" เนื่องจากขนาดลำตัวที่ใหญ่เหมือนราหูอมจันทร์ตามคติของคนโบราณ มีลักษณะส่วนปลายหัวแหลม ขอบด้านหน้ามนกลมคล้ายใบโพ ลักษณะตัวเกือบเป็นรูปกลม ส่วนหางยาวไม่มีริ้วหนัง มีเงี่ยงแหลมที่โคนหาง 2 ชิ้น ซึ่งในปลาขนาดใหญ่อาจยาวได้ถึง 8-10 [[นิ้ว]] เมื่อหักไปแล้วสามารถงอกขึ้นได้ ในเงี่ยงมีสารเคมีที่มีลักษณะคล้ายเมือกลื่น มีสภาพเป็นสารโปรตีนมีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อ สำหรับปลาขนาดใหญ่ พิษนี้จะมีความรุนแรงเทียบเท่ากับพิษของ[[งูกะปะ]] ซึ่งทำให้เสียชีวิตได้เมื่อถูกแทงเข้า <ref name="บาง"/>กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ ด้านบนของปีกและตัวเป็นสีเทาหรือน้ำตาลนวล หางสีคล้ำ ด้านล่างของตัวมีสีขาวนวล ที่ขอบปีกด้านล่างเป็นด่างสีดำ อาศัยในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ จนถึงบริเวณใกล้ปากแม่น้ำ และยังพบในแม่น้ำสายใหญ่ต่าง ๆ เช่น [[แม่น้ำเจ้าพระยา]], [[แม่น้ำแม่กลอง]], [[แม่น้ำบางปะกง]], [[แม่น้ำโขง]], [[บอร์เนียว]], [[นิวกินี]] จนถึง[[ออสเตรเลีย]]ตอนเหนือ โดยสถานที่ ๆ มักพบตัวขนาดใหญ่ คือ แม่น้ำกลอง บริเวณ 20 กิโลเมตรก่อนไหลลงสู่[[อ่าวไทย]] ในเขตอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม <ref name="บาง"/>
 
โดยปลาตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่า[[ตัวผู้]] และอาจมี[[น้ำหนัก]]ที่มากกว่าได้ถึง 80 เท่า เป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว โดยลูกปลาที่ออกมาใหม่นั้นจะมีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 50 [[เซนติเมตร]] และมีปลอกหุ้มเงี่ยงหางเอาไว้ เพื่อมิให้ทำอันตรายต่อแม่ปลา ออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว [[สันนิษฐาน]]ว่าที่ต้องมีขนาดตัวใหญ่เช่นนี้ พื่อมิให้ตกเป็น[[อาหาร]]ของนักล่าชนิดต่าง ๆ ใน[[แม่น้ำ]]<ref>''Death Ray'': River Monster by [[Animal Planet]]</ref>
 
ได้ชื่อว่า "[[พระราหู|ราหู]]" เนื่องจากขนาดลำตัวที่ใหญ่เหมือนราหูอมจันทร์ตามคติของคนโบราณ อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกด้วยว่า หากใครพบเห็นหรือจับปลากระเบนราหูน้ำจืดได้ จะพบกับความโชคร้าย <ref name="บาง"/>
ปลากระเบนราหู ถูก[[อนุกรมวิธาน]]ในปี [[ค.ศ. 1990]] โดย [[ศาสตราจารย์|ศ.]]ดร.[[สุภาพ มงคลประสิทธิ์]] ขณะดำรงตำแหน่งคณบดี[[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] และ ดร.[[ไทสัน โรเบิร์ตส์]] แห่งสถาบัน[[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] โดยให้ใช้ชื่อว่า ''Himantura chaophraya'' ตามชื่อสถานที่ (แม่น้ำเจ้าพระยา) ได้[[ตัวอย่างต้นแบบแรก]]ที่ได้รับจาก [[กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์]] นักสำรวจปลาน้ำจืดที่มีผลงานมากมายชาวไทย ซึ่งจับได้จากแม่น้ำเจ้าพระยาที่เขต[[อำเภอบางไทร]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]<ref>''เปิดตำนานเจ้าพ่อปลาแม่น้ำ'', Interview in Magazine Aquarium Biz Issue. 2 Vol.1: August 2010 </ref> (แต่ต่อมาชื่อวิทยาศาสตร์ได้เปลี่ยนเป็น ''Himantura polylepis'' ตามที่เคยมีผู้ตั้งไว้ในอดีต<ref>Last, P.R.; Manjaji-Matsumoto, B.M. (2008). "''Himantura dalyensis'' sp. nov., a new estuarine whipray (Myliobatoidei: Dasyatidae) from northern Australia". In Last, P.R.; White, W.T.; Pogonoski, J.J. ''Descriptions of new Australian Chondrichthyans''. CSIRO Marine and Atmospheric Research. pp. 283–291. ISBN 0-1921424-1-0.</ref><ref name="IUCN"/>)
 
ปลากระเบนราหูน้ำจืด ถูก[[อนุกรมวิธาน]]ในปี [[ค.ศ. 1990]] โดย [[ศาสตราจารย์|ศ.]]ดร.[[สุภาพ มงคลประสิทธิ์]] ขณะดำรงตำแหน่งคณบดี[[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] และ ดร.[[ไทสัน โรเบิร์ตส์]] แห่งสถาบัน[[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] โดยให้ใช้ชื่อว่า ''Himantura chaophraya'' ตามชื่อสถานที่ (แม่น้ำเจ้าพระยา) ได้[[ตัวอย่างต้นแบบแรก]]ที่ได้รับจาก [[กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์]] นักสำรวจปลาน้ำจืดที่มีผลงานมากมายชาวไทย ซึ่งจับได้จากแม่น้ำเจ้าพระยาที่เขต[[อำเภอบางไทร]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]<ref>''เปิดตำนานเจ้าพ่อปลาแม่น้ำ'', Interview in Magazine Aquarium Biz Issue. 2 Vol.1: August 2010 </ref> (แต่ต่อมาชื่อวิทยาศาสตร์ได้เปลี่ยนเป็น ''Himantura polylepis'' ตามที่เคยมีผู้ตั้งไว้ในอดีต<ref>Last, P.R.; Manjaji-Matsumoto, B.M. (2008). "''Himantura dalyensis'' sp. nov., a new estuarine whipray (Myliobatoidei: Dasyatidae) from northern Australia". In Last, P.R.; White, W.T.; Pogonoski, J.J. ''Descriptions of new Australian Chondrichthyans''. CSIRO Marine and Atmospheric Research. pp. 283–291. ISBN 0-1921424-1-0.</ref><ref name="IUCN"/>)
 
ปลากระเบนราหูน้ำจืดมักถูกพบจับขึ้นมาชำแหละเนื้อขายเสมอในจังหวัดริมแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่[[จังหวัดชัยนาท]]จนถึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และปากแม่น้ำแม่กลอง ตามที่ปรากฏเป็นข่าวบ่อย ๆ ตามหน้าสื่อมวลชนต่าง ๆ
 
ปัจจุบัน ปลากระเบนราหูน้ำจืดจัดเป็นปลาน้ำจืดไทยอีกชนิดหนึ่งที่ใกล้จะสูญพันธุ์ อันเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์
|ชื่อหนังสือ=สาระน่ารู้ ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑
เส้น 47 ⟶ 51:
|หน้า = 3
}}
</ref>รวมถึงมีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก แต่ได้มีการศึกษาวิจัย โดยคณะนักวิทยาศาสตร์จาก[[คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] โดยเก็บตัวอย่างเลือด, ดีเอ็นเอ และเมือกพิษ เพื่อนำไปศึกษาเพื่อเพิ่มองค์ความรู้เกี่ยวกับปลาชนิดนี้ต่อไป<ref name="บาง">{{cite web|url=http://video.mthai.com/news/player/1243405668.html|title=บางอ้อ ตอน ล่าสัตว์ประหลาดลุ่มแม่น้ำแม่กลอง|date=26 May 2009|accessdate=12 August 2014|publisher=เอ็มไทย}}</ref>
</ref>
 
==รูปภาพ==
เส้น 59 ⟶ 63:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://filamanwww.ifm-geomarfishbase.deorg/summary/SpeciesSummaryHimantura-chaophraya.php?id=11693&lang=thaihtml รายละเอียดปลากระเบนราหูน้ำจืดจาก FishBase {{en}}]
*{{wikispecies-inline|Himantura polylepis}}
*[http://video.mthai.com/player.php?id=6M1243405668M0 รายการบางอ้อ ตอน ล่าสัตว์ประหลาดลุ่มแม่น้ำแม่กลอง]
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในประเทศไทย|กระเบนราหูน้ำจืด]]
[[หมวดหมู่:สกุลไฮแมนทูรา]]